Page 6 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 6
ั
ตอมาไดมีการขยายพื้นที่ปลูกยางพาราไปทางภาคตะวนออกใน
ื
ั
ั
ื
ี
จังหวดอื่นๆ ภาคกลาง ภาคเหนอ และภาคตะวนออกเฉยงเหนอ ซึ่งเรียก
จังหวัดเหลานี้รวมวาเขต หรือ “พื้นที่ปลูกยางใหม” ซึ่งมีขอจํากัดในเรื่องของ
้ํ
ิ
ความอุดมสมบูรณของดน ปริมาณนาฝน การกระจายของฝน และบางพื้นที่
เปนที่สูง เนื่องจากยางพาราสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมตางๆไดด ี
จึงสามารถปลูกยางไดทุกภาคของประเทศ อยางไรก็ตาม ตนยางในภาคใต
ี
สามารถเจริญเติบโตไดด และใหผลผลิตสูงกวาตนยางในภาคตะวนออกเฉยง
ี
ั
ื
เหนอ โดยภาคใตสามารถเปดกรีดไดเมื่อตนยางอาย 6-7 ป ขณะที่ภาค
ุ
ื
ตะวันออกเฉียงเหนือเปดกรีดชากวาอยางนอย 6 เดอน และใหผลผลิตตากวา
่ํ
ั
ั้
ภาคใตรอยละ 10-15 แสดงใหเห็นวาสภาพแวดลอมนนมีความสําคญตอการ
ิ
ึ
เจริญเติบโตและผลผลิตของยาง จากการศกษางานวจัย พบวา ตองมีการใช
เทคโนโลยบางสวนที่แตกตางกัน เชนพันธยาง หรือสูตรการใชปุยบํารุง เปน
ี
ุ
ตน ทําใหเกษตรกรมีความจําเปนตองทราบวาการที่จะทําสวนยางพื้นที่ปลูก
ยางใหมนี้ ใหประสบความสําเร็จ ตองใชหลักวิชาการและปจจัยดานใดบาง
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 2