Page 11 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 11

ื่
                          ั
                  กลุม 2 พนธุยางเพอผลผลิตนายางและเนอไม ไดแก PB 235 และ
                                                             
                                                       ื้
                                            ้ํ
            RRII 118
                  กลุม 3 พันธุยางเพื่อผลผลิตเนื้อไม ไดแก ฉะเชิงเทรา 50 และ BPM 1
                2)  พันธุยางชั้น 2 มี 11 พันธุ ไดแก สถาบันวิจัยยาง 411 สถาบันวิจัย
            ยาง 417 สถาบันวิจัยยาง 3604 สถาบันวิจัยยาง 3607 สถาบันวิจัยยาง 3609

                                           ิ
                    ิ
            สถาบันวจัยยาง 3610  สถาบันวจัยยาง 3612 สถาบันวจัยยาง 3702
                                                                ิ
            สถาบันวิจัยยาง 3902 สถาบันวิจัยยาง 3904 สถาบันวิจัยยาง 3906
                3)  พันธุยางชั้น 3 มี 6 พันธุ ไดแก สถาบันวิจัยยาง 3608 สถาบันวิจัย

            ยาง 3611  สถาบันวจัยยาง 3613  สถาบันวจัยยาง 3614  IRCA  825  IRCA
                                                  ิ
                              ิ
            871
                    โดยมีรายละเอียดขอมูลวิชาการแสดงสําหรับพันธุยางชั้น 1 ทุกกลุม
                                                                  
                                              ั้
                                     ั้
                                                          ุ
            และทุกพันธุ และในพันธุยางชน 2 และชน 3 บางพันธที่มีแนวโนมใหผลผลิต
            สูงในพื้นที่ปลูกยางใหม ดังน  ี้
            พันธุยางชั้น 1 กลุม 1 : พันธุยางเพื่อผลผลิตน้ํายาง
                    สถาบันวิจัยยาง 226 (RRIT 226)

                                                             ุ
                    เปนพันธุยางของไทยที่ไดจากการผสมระหวางพันธ PB 5/51 x RRIM
            600 ในพื้นที่ปลูกยางใหมใหผลผลิตเนื้อยางแหง 10 ปกรีดเฉลี่ย 344 กิโลกรัม
            ตอไรตอป การเจริญเติบโตกอนเปดกรีดและระหวางกรีดปานกลาง เปลือกเดม
                                                                           ิ
                                                   
            บาง เปลือกงอกใหมหนาปานกลาง คอนขางตานทานโรคราสีชมพู ตานทาน
                                                                      
                                                
                                            
            ปานกลางตอโรคใบรวงไฟทอฟธอรา ใบจุดคอลเลโทตริกัม ใบจุดกางปลา เสน
                                                                           ั
                                                                         
            ดํา คอนขางออนแอตอโรคราแปง ควรกรีดดวยระบบกรีดครึ่งลําตน วนเวนวน
                                                                     ั
                                                                          
            มีจํานวนตนยางแสดงอาการเปลือกแหงนอย ตานทานลมปานกลาง ปลูกไดใน
                                                                           ื้
                                                                        ิ
            พื้นที่ลาดชันและพื้นที่ที่มีความชื้นสูง ไมแนะนาใหปลูกในพื้นที่ที่มีหนาดนตน
                                                  ํ
                                                                      
            และพื้นที่ที่มีระดับน้ําใตดินสูง ยางแผนดิบมีสีคอนขางคล้ํา
            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 7
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16