Page 14 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 14

RRII 118
                                                      
                                                                      
                           ุ
                    เปนพันธยางของสหพันธรัฐอินเดย  ที่ไดจากการผสมระหวางพันธ  ุ
                                                ี
                                                           ื้
            Mil.3/2 กับ Hil.28 ในพื้นที่ปลูกยางใหมใหผลผลิตเนอยางแหง 10 ปกรีด
            เฉลี่ย 343 กิโลกรัมตอไรตอป ตนยางอาย 22 ป ใหผลผลิตเนอไมสวนลําตน
                                                                           
                                                                ื้
                                       
                                               ุ
                              
                                  
            0.264 ลูกบาศกเมตรตอตน คดเปน 24 ลูกบาศกเมตรตอไร เปลือกเดมและ
                                  
                               
                                     ิ
                                                           
                                                                       ิ
                                             
                                         
            เปลือกงอกใหมหนาปานกลาง  คอนขางตานทานโรคใบรวงไฟทอฟธอรา มี
                                                
                                                                  
                                                  
            จํานวนตนยางแสดงอาการเปลือกแหงนอย ตานทานปานกลางตอโรคราแปง
                                             
            ใบจุดคอลเลโทตริกัม ใบจุดกางปลา เสนดํา ราสีชมพู ตานทานลมดี ปลูกไดใน
                                                                      ้ํ
                                                                          
                                                                           ิ
                                      ื้
                                               ํ
                                   ิ
                                                                    ั
            พื้นที่ลาดชัน พื้นที่ที่มีหนาดนตน ไมแนะนาใหปลูกในพื้นที่ที่มีระดบนาใตดน
                                 
                                                               ุ
                                                                    ึ้
            สูง เปนพันธุที่มีการเจริญเติบโตและผลผลิตเพิ่มสูงในชวงอายมากขน และทน
              
            ตอสภาพแวดลอมในพื้นที่ปลูกยางใหมไดด  ี
            พันธุยางชั้น 1 กลุม 3 : พันธุยางเพื่อผลผลิตเนื้อไม
                    ฉะเชิงเทรา 50 (RRIT 402)
                                          
                                                                ุ
                    เปนพันธยางของไทย ที่ไดจากการผสมเปดของพันธ RRIC 110 ใน
                           ุ
            พื้นที่ปลูกยางใหมใหผลผลิตเนื้อยางแหง 10 ปกรีดเฉลี่ย 304 กิโลกรัมตอไรตอ
                                                   
            ป ตนยางอาย 17 ป ใหผลผลิตเนอไมสวนลําตน 0.188 ลูกบาศกเมตรตอตน
                        ุ
                                        ื้
                                                                        
                                                                           
                                                 
              ิ
                                         
                                    
            คดเปน 18  ลูกบาศกเมตรตอไร คอนขางตานทานโรคใบจุดคอลเลโทตริกัม
                                             
            ราสีชมพู ตานทานปานกลางตอโรคใบรวงไฟทอฟธอรา ราแปง คอนขาง
                                                                      
                                                                          
                                       
                      
                                               
            ออนแอตอโรคใบจุดกางปลา มีจํานวนตนยางแสดงอาการเปลือกแหงนอย
                    
                                                                          
                                                            
                                                              ิ
                                                                 ื้
            ตานทานลมปานกลาง ปลูกไดในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ที่มีหนาดนตน และพื้นที่มี
            ระดับน้ําใตดินสูง เปนพันธุที่มีการเจริญเติบโตดีและใหผลผลิตเพิ่มขนเรื่อย ๆ
                                                                     ึ้
                            
                    ุ
            ตามอาย และทนตอสภาพแวดลอมในพื้นที่ปลูกยางใหมไดด ไมควรปลูกใน
                                                              
                                                                ี
            พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคใบจุดกางปลารุนแรง

            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 10
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19