Page 12 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 12

สถาบันวิจยยาง 251 (RRIT 251)
                            ั
                                                              
                                                   ั
                           ุ
                                          
                    เปนพันธยางของไทยที่ไดจากการคดเลือกจากตนกลายางแปลง
            เอกชนในจังหวัดสงขลา ในพื้นที่ปลูกยางใหมใหผลผลิตเนื้อยางแหง 10 ปกรีด
                                                                       
            เฉลี่ย 339 กิโลกรัมตอไรตอป การเจริญเตบโตกอนเปดกรีดและระหวางกรีด
                                               ิ
            ปานกลาง เปลือกเดมและเปลือกงอกใหมหนาปานกลาง ไมควรจะใชระบบ
                              ิ
                                                                       
            กรีดที่มีความถมากกวาวนเวนวน เพราะจะทําใหมีจํานวนตนเปลือกแหง
                                     
                                  ั
                                        ั
                                
                         ี่
                                                                 
                         
                            
                                    
                     
                                                
            เพิ่มขน คอนขางตานทานตอโรคเสนดา ตานทานปานกลางตอโรคใบรวงไฟ
                                                                
                 ึ้
                                             ํ
                                                                   
            ทอฟธอรา ราแปง ใบจุดคอลเลโทตริกัม ใบจุดกางปลา ราสีชมพู ตานทานลม
            ปานกลาง ในระยะยางอายุนอย ตนยางที่ปลูกในพื้นที่ฝนตกชกทั้งในแปลงกิ่ง
                                                               ุ
            ตาและแปลงปลูก จะออนแอตอโรคคอลเลโทตริกัมมาก ไมแนะนาใหปลูกใน
                                                                   ํ
                                   ่ํ
                                                  ื่
                                      ิ
                   ิ
            พื้นที่ที่ดนมีความสมบูรณตา ดนที่มีลูกรัง เนองจากจะมีลักษณะเปลือกแตก
                                  
                                                                          
            น้ํายางไหล ตนคด ในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ที่มีหนาดินตื้น พื้นที่ที่มีระดบนาใตดน
                                                                    ั
                                                                       ้ํ
                                                                           ิ
            ลึกนอยกวา 1 เมตร และพื้นที่ลมแรง เนื่องจากทรงพุมมีขนาดใหญ แตกกิ่งไม
                
            สมดุล และไมควรปลูกดวยระยะปลูกนอยกวา 3 x 7 เมตร
                    สถาบันวิจัยยาง 408 (RRIT 408)
                    เปนพันธุยางของไทยที่ไดจากการผสมระหวางพันธ PB 5/51 x RRIC
                                                       
                                                             ุ
            101 ในพื้นที่ปลูกยางใหมใหผลผลิตเนื้อยางแหง 10 ปกรีดเฉลี่ย 317 กิโลกรัม
            ตอไรตอป การเจริญเติบโตกอนเปดกรีดดี และระหวางกรีดปานกลาง เปลือก
                                                       
                                                                           
                                                                     
                                                                        ั
            เดิมหนาและเปลือกงอกใหมหนาปานกลาง ควรใชระบบกรีดครึ่งลําตนวนเวน
            วัน หรือ ครึ่งลําตนวันเวนสองวัน ตานทานปานกลางตอโรคราแปง ใบจุดคอล
            เลโทตริกัม ใบจุดกางปลา เสนดา ราสีชมพู คอนขางออนแอตอโรคใบรวงไฟ
                                                  
                                                      
                                                                
                                       ํ
                                                ํ
                                                                        ื้
                                                                     ิ
                                                                   
            ทอฟธอรา ตานทานลมปานกลาง ไมแนะนาใหปลูกในพื้นที่ที่มีหนาดนตน ไม
            แนะนําใหกรีดถี่มากกวาวันเวนวันเพราะตนยางจะแสดงอาการเปลือกแหงมาก


            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 8
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17