Page 15 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 15
BPM 1
ี
ุ
เปนพันธยางของสาธารณรัฐอินโดนเซีย ที่ไดจากการผสมระหวาง
ุ
ื้
ิ
พันธ AVROS 163 กับ AVROS 308 ในพื้นที่ปลูกยางเดมใหผลผลิตเนอยาง
ี
ิ
แหง 10 ปกรีดเฉลี่ย 307 กิโลกรัมตอไรตอป การเจริญเตบโตดมาก เมื่อตน
ยางอาย 20 ปมีขนาดเสนรอบวงลําตน 94 เซนติเมตร ใหผลผลิตเนื้อไมสวนลํา
ุ
ตน 0.257 ลูกบาศกเมตรตอตน คิดเปน 24 ลูกบาศกเมตรตอไร และ ในพื้นที่
ปลูกยางใหม ใหผลผลิต 10 ปกรีดเฉลี่ย 276 กิโลกรัมตอไรตอป เมื่อตนยาง
อายุ 22 ปมีขนาดเสนรอบวงลําตน 97 เซนติเมตร ใหผลผลิตเนื้อไมสวนลําตน
ิ
0.269 ลูกบาศกเมตรตอตน คดเปน 25 ลูกบาศกเมตรตอไร ตานทานลมดี
้ํ
ั
ิ
ปลูกไดในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ที่มีหนาดินตื้น และพื้นที่มีระดบนาใตดนสูง ปลูก
ไดในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการระบาดของโรคสูง
ั
พันธุยางชั้น 2 และ พันธุยางชั้น 3 บางพนธุที่มีในโนมใหผลผลิตสูงในพื้นที่
ปลูกยางใหม
สถาบันวิจัยยาง 3604 (RRIT 3604)
เปนพันธยางจากการผสมพันธระหวางพันธ PB 235 กับ RRIM 600
ุ
ุ
ุ
แนะนาใหปลูกในพื้นที่ปลูกยางใหม มีการเจริญเตบโตกอนเปดกรีดและ
ิ
ํ
ี
ระหวางกรีดด ผลผลิตเนอยางแหงเฉลี่ย 9 ปกรีด 377 กิโลกรัมตอไรตอป
ื้
ตานทานคอนขางดีตอโรคราแปง มีจํานวนตนแสดงอาการเปลือกแหงนอย
สถาบันวิจัยยาง 3904 (RRIT3904)
เปนพันธยางจากการผสมพันธระหวางพันธ RRII 203 กับ PB 235
ุ
ุ
ุ
ิ
แนะนําใหปลูกทั้งในพื้นที่ปลูกยางเดิมและพื้นที่ปลูกยางใหม การเจริญเตบโต
ื้
กอนเปดกรีดและระหวางกรีดดีมาก ผลผลิตเนอยางแหงในพื้นที่ปลูกยางเดม
ิ
เฉลี่ย 4 ปกรีด 475 กิโลกรัมตอไรตอป ในพื้นที่ปลูกยางใหมเฉลี่ย 8 ปกรีด
ั
384 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตระยะเริ่มเปดกรีดอยในระดบปานกลางและ
ู
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 11