Page 10 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 10

ื้
                                                          ุ
                            ั
                                    ื่
                                                                       ื้
                    กลุม 3 พนธุยางเพอผลผลิตเนอไม เปนพันธที่ใหผลผลิตเนอไมสูง
            เปนหลัก มีการเจริญเติบโตดีมาก ลักษณะลําตนตรง ใหปริมาตรเนื้อไมในสวน
            ลําตนสูงมาก ผลผลิตน้ํายางจะอยูในระดับต่ํากวาพันธุยางในกลุม 1 และ กลุม
            2 เหมาะสําหรับเปนพันธุที่จะปลูกเปนสวนปาเพื่อการผลิตเนื้อไม

                    ั
                                                                        ึ
                                                       
                  พนธุยางชั้น  2 เปนยางพันธด ที่อยระหวางการทดลองและศกษา
                                            ุ
                                             ี
                                                  ู
            ลักษณะบางประการเพิ่มเติม เชน ขอมูลโรคบางชนิด ขอมูลผลผลิตจากเปลือก
            งอกใหม แนะนําใหปลูกไดไมเกินรอยละ 50 ของเนื้อที่ปลูกยางที่ถือครอง หรือ
                                                          ื้
                                     
                               ั้
                                                                      ื
            ปลูกรวมกับพันธุยางชน 3 ไดไมเกินรอยละ 50 ของเนอที่ปลูกยางที่ถอครอง
                                                                         
                                                       ั้
                                                   ุ
            เกษตรกรที่มีความประสงคจะเลือกปลูกพันธยางชนน  ควรปลูกภายใตการ
                                    
                                                          ี้
            แนะนําจากสถาบันวิจัยยาง
                  พันธุยางชั้น 3 เปนยางพันธุดี ที่อยูระหวางการทดลองและขอมูลจํากัด
            เนื่องจากมีระยะเวลาและจํานวนแปลงทดลองนอย ทําใหไดขอมูลบางประการ
                                         ิ
            ไมสมบูรณ เชน ขอมูลโรคบางชนด ขอมูลผลผลิตจากเปลือกงอกใหม และ
                     
                        
                            
                                            
                                               ํ
                                                         
                         
                      ั
            การปรับตวตอสภาพแวดลอม แนะนาใหปลูกไดไมเกินรอยละ  50
                                                            ั้
                                                        ุ
                               ื
                  ื้
            ของเนอที่ปลูกยางที่ถอครอง หรือปลูกรวมกับพันธยางชน 2  เกษตรกรที่มี
                         
                                                                        ํ
                                                               
                                             ั้
                                        ุ
            ความประสงคจะเลือกปลูกพันธยางชนน  ควรปลูกภายใตการแนะนาจาก
                                               ี้
            สถาบันวิจัยยาง
                                                                  ุ
                                                       ํ
                    สําหรับพันธุยางในพื้นที่ปลูกยางใหมตามคาแนะนาพันธยางป 2559
                                                             ํ
            ของสถาบันวิจัยยาง การยางแหงประเทศไทย มีดังน  ี้
                1)  พันธุยางชั้น 1 มี 8 พันธุ ไดแก
                                                      
                            ั
                  กลุม 1  พนธุยางเพอผลผลิตนายาง ไดแก  สถาบันวจัยยาง 226
                                    ื่
                                              ้ํ
                                                                  ิ
            สถาบันวิจัยยาง 251 สถาบันวิจัยยาง 408  และ RRIM 600
            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 6
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15