Page 8 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 8
ู
บทที่ 2 : พันธุยางที่แนะนําในพื้นปลกยางใหม
ในคําแนะนําพันธุยางของไทยและตางประเทศโดยสวนใหญมีทิศทาง
ํ
ุ
เดียวกัน และมีความแตกตางจากพืชอื่น ๆ โดยมีการแบงชั้นพันธยางที่แนะนา
ื่
ตามระยะเวลาของการเก็บขอมูลผลผลิตและลักษณะรองตาง ๆ เนองจาก
ยางพาราเปนพืชยนตน มีระยะเวลาการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ยาวนาน การ
ื
ปรับปรุงพันธุยางจึงใชระยะเวลาในแตละรอบของการคดเลือกพันธยาวนาน
ั
ุ
25-30 ป พันธุยางที่ผานการทดลองหลายปและหลายสภาพแวดลอม มีขอมูล
ลักษณะเดนและขอจํากัดมากเพียงพอ จึงจะแนะนาเปนพันธยางชน 1 ที่
ั้
ํ
ุ
เกษตรกรสามารถปลูกไดโดยไมมีการจํากัดพื้นที่ปลูก เพื่อลดความเสี่ยงของ
ํ
ี
ํ
เกษตรกรใหมากที่สุด และในขณะเดยวกันมีการเปลี่ยนแปลงคาแนะนาพันธ ุ
ิ
ยางทุก ๆ 4-5 ป ตามสภาพแวดลอม การเตบโตของอุตสาหกรรม ภาวะทาง
เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งความตองการของเกษตรกรที่เปลี่ยนแปลงไป
ั
รวมทั้งขึ้นกับผลการพัฒนาพันธุยางในแตละประเทศ ดงนนการปรับปรุงพันธ ุ
ั้
ยางของไทยจึงจําเปนที่จะตองมีการดําเนินการอยางตอเนื่องเพื่อตอบสนองตอ
ั
ั
ี้
ั
การเปลี่ยนแปลงดงกลาวน โดยมุงหวงตอการเพิ่มศกยภาพการผลิตของ
ชาวสวนยางและของประเทศ
ํ
ุ
ั้
สถาบันวจัยยาง ไดเริ่มจัดทําคาแนะนาพันธยางแกเกษตรกรตงแต
ิ
ํ
ํ
ป 2504 และมีการเปลี่ยนแปลงคําแนะนาพันธยางทุก 4 ป โดยพิจารณาจาก
ุ
ั
พันธุยางใหมที่ไดรับจากผลงานวจัยการปรับปรุงพันธยาง และตดพันธยางที่
ิ
ุ
ุ
แนะนําในคําแนะนําพันธุยางฉบับเดิมออกไปบางสวน เนองจากความเสียหาย
ื่
จากการระบาดของโรค และสาเหตุอื่นๆ ตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป
ซึ่งคําแนะนําพันธุยางฉบับปจจุบันป 2559 เปนคาแนะนาพันธยางฉบับที่ 16
ํ
ํ
ุ
ไดมีการเปลี่ยนแปลงในสาระสําคญจากคาแนะนาฉบับที่ผานมา คอ
ํ
ื
ั
ํ
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 4