Page 64 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 64
ิ
โดยตรงกับตนยางบริเวณเปลือกที่ใกลรอยกรีดหรือรอยเจาะ แกสเอทธลีน
จะกระจายและซึมเขาสูเปลือกชั้นในเขาสูทอน้ํายาง ทําใหน้ําสามารถไหลผาน
ี
ึ้
ั
้ํ
ิ
ผนังเซลลไดดขน เพิ่มปฏกิริยาการเปลี่ยนแปลงนาตาลซูโครส เพิ่มความดน
ภายในทอน้ํายาง เพิ่มบริเวณพื้นที่ใหน้ํายาง ชะลอการจับตวของอนภาคยางใน
ุ
ั
น้ํายาง ทําใหการอุดตันชาลง น้ํายางไหลไดนานขึ้น
ผลกระทบจากการใชสารเคมีเรงน้ํายาง
ทําใหปริมาณเนื้อยางแหง (DRC) ลดลงรอยละ 3-6 ขึ้นอยูกับพันธุยาง
และความสมบูรณของตนยาง
ใชระบบกรีดถี่ และหากใชสารเคมีเรงน้ํายางความเขมขนสูง ทาบอยครั้ง
ทําใหตนยางเกิดอาการเปลือกแหงสูงขึ้น
การใชสารเคมีเรงน้ํายางในรูปของแกสแบบเจาะ หากเจาะลึกถงเนอไม
ื้
ึ
จะมีผลกระทบกับเนื้อไม ทําใหเนื้อไมเปนแผล มีสีคล้ํา หรือเปลือกบวม
การเก็บเกี่ยวผลผลิตน้ํายางวิธีอื่น
ั
1. ระบบกรีด 2 รอยกรีด กรีดสลับหนาตางระดบ (Double Cut
Alternative Tapping System: DCA)
ั
ั
เปนการเปดกรีดทั้งสองหนาตางระดบ โดยหนากรีดแรกเปดกรีดที่ระดบ
ั
ิ
ความสูง 80 เซนตเมตรจากพื้นดน หนากรีดที่ 2 เปดกรีดที่ระดบความสูง 150
ิ
ิ
เซนตเมตรจากพื้นดน ระยะหางระหวางรอยกรีด 2 รอยหางกันประมาณ 70
ิ
ั
เซนตเมตรเพื่อใหพื้นที่การใหนายางไมซอนกัน ใชระบบกรีดวนเวนวน สลับหนา
ิ
้ํ
ั
กรีด แตละรอยกรีดทุก 4 วัน หรือกรีดวันเวนวัน โดยแตละครั้งไมกรีดซ้ําหนา
กรีดเดิม
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 60