Page 67 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 67

ตลอดวงจรชีวิตยางลดลง 25-59% และยังมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของ
              
            ตนยาง ทําใหตนยางมีอัตราการเจริญเติบโตต่ําและผลผลิตไมยางนอยกวา 28-
            60% เมื่อเปรียบเทียบกันตนขนาด 50 ซม. และการกรีดยางตนเล็กไดปริมาณ
                                                                      
            เนื้อยางแหงต่ํา (DRC, dry rubber content)


            2. การกรีดแบบรอยกรีดสั้น
                                         
                                                   ั
                                                                        
                    การกรีดหนงในสี่ของลําตน กรีดทุกวน (S/4 d1) ใหผลผลิตตอครั้ง
                             ึ่
                                             ั
                      
                 
                                       
                                                   ั
                                                 
            กรีดนอยกวาระบบกรีดครึ่งลําตนกรีดวนเวนวน (S/2 d2)  ประมาณ 50%
            และในชวงหลัง (กรีดยาง 9 ป) ผลผลิตลดลง 74% ขณะที่ระบบกรีดดังกลาวมี
                                                               ึ่
                                                                           
                                                  
                                              ึ
                               
                                       ั
                    ั
            จํานวนวนกรีดมากกวา 100  วน และถงแมวาระบบกรีดหนงในสี่ของลําตน
                                                           ั
                                                                     
                    ั
            กรีดทุกวนจะทําใหเกษตรกรมีรายไดจากการกรีดทุกวนก็ตาม แตเมื่อรวม
                                            
            รายไดและผลผลิตตอไรตอปไมแตกตางกัน อยางไรก็ตามการกรีดกรีดหนึ่งในสี่
            ของลําตน กรีดทุกวัน ทําใหมีจํานวนตนเปลือกแหงมากขึ้น อาจทําใหอายการ
                                                                         ุ
            กรีดลดลงทําใหสูญเสียทั้งโอกาสในการเก็บเกี่ยวผลผลิตนายางและดาน
                                                                          
                                                                ้ํ
            เศรษฐกิจ
            การใชสารทาหนากรีด
                                                   
                                                                        
                                                                      
                                                            ั
                                                               ุ
                    เกษตรกรแตละรายเลือกใชสารทาหนากรีดเพื่อวตถประสงคตางกัน
                                          
                                                                         
                                                          
            บางรายใชเพื่อรักษาบาดแผลและปองกันรักษาโรคที่หนากรีด บางรายใชเพื่อ
            ตองการเพิ่มผลผลิตน้ํายาง
                                          
                        การใชสารทาหนากรีดเพอการปองกนรักษาโรค โรคที่
                                                            ั
                                                  ื่
                                                         
            สําคญ ไดแก โรคเสนดา และโรคเปลือกเนา สวนยางที่อยในพื้นที่ที่เกิดโรค
                ั
                                ํ
                                                              ู
                                                 
                     
                                  
                                                                           
                                                                     ํ
                                                               ํ
                                                      ื้
            ระบาดเปนประจํา ควรใชสารเคมีปองกันกําจัดเชอราตามคาแนะนาทาหนา
                                ุ
                    
                                               
                                                         ู
            กรีดในชวงที่มีฝนตกชกทุกสัปดาห แตเมื่อพนฤดฝนไปแลว ไมมีความ
            จําเปนตองทาหนากรีด เกษตรกรบางรายอาจใชฝุนแดงผสมกับสารเคมีปองกัน
            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 63
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72