Page 63 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 63
5. กรีด 1 ใน 3 ของลําตน กรีด 1 วัน เวน 1 วัน ควบคูกับการใช
สารเคมีเรงน้ํายางความเขมขน 2.5% (S/3 d2 .ET 2.5%) จํานวน 6 ครั้งตอป
ไมควรใชกับพันธุยางที่ออนแอตออาการเปลือกแหง และไมควรใชในเขตแหงแลง
ขอสังเกต 1/ พันธุยางที่ใหผลผลิตสูง ไดแก สถาบันวิจัยยาง 251
ุ
สถาบันวิจัยยาง 408 BPM 24 และ PB 235 เปนตน สวนใหญเปนพันธุที่มีระดับ
เมแทบอลิซึมสูง ดังนั้นแนวทางหนึ่งในการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงของการเกิดอาการ
เปลือกแหงกับตนยาง ควรใชระบบกรีดถตา เชน กรีดวนเวนวน (d2) หรือ กรีด
ั
่ํ
ั
ี่
วันเวน 2 วัน เปนตน
2/ ควรทํารอยแบงกรีดเสนหนา-หลังใหชัดเจนในแตละปกรีด
ยาว 30-50 ซม. เพื่อปองกันไมใหกรีดล้ําเขาไปในหนาอื่นที่ยงไมไดกรีด
ั
ึ่
โดยเฉพาะการแบงหนากรีดหนงในสามของลําตน หากไมทํารอยแบงกรีดให
ชัดเจน เมื่อกรีดหนาที่สาม รอยกรีดมักจะสั้นมาก ทําใหไดน้ํายางนอย จนกระทั่ง
ไดผลผลิตต่ําไมคุมคากับการกรีดหนาที่สามตอไป ทําใหเสียโอกาสในการเก็บเกี่ยว
ผลผลิตยาง
3/ ไมควรเปลี่ยนความยาวของรอยกรีด เชน กรีดครึ่งลําตน
ึ่
เปลี่ยนเปนกรีดหนึ่งในสามของลําตน หรือในทางกลับกันเปลี่ยนจากรอยกรีดหนง
ในสามเปนครึ่งลําตน เพราะจะทําใหเปลือกสวนหนึ่งไมไดกรีด ทําใหผลผลิตลดลง
20-30%
สารเคมีเรงน้ํายาง
หมายถง สารที่ชวยเพิ่มระยะเวลาการไหลของนายางใหนานขน และ
ึ
ึ้
้ํ
ื
ํ
้ํ
ุ
ี่
กระตนการสังเคราะหนายาง สารเคมีทแนะนาใช คอ 2-chloroethyl
ํ
phosphonic acid มีชื่อสามัญวา เอทธิฟอน (ethephon) โดยแนะนาใหใช
ั
ที่ระดบความเขมขน 2.5% หลังจากทาหนายางจะสลายตวใหแกสเอทธลีน
ี
ั
ิ
้ํ
(ethylene) ออกมาชาๆ หรือใชสารเคมีเรงนายางในรูปของแกสเอทธลีน
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 59