Page 58 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 58

5.  สภาพแวดลอม ไดแก โครงสรางและความอุดมสมบูรณ  
            ของดินปลูก การปฏิบัติที่ไมถูกตอง สภาพภูมิอากาศ
                           6.  ไมทราบสาเหตุทั้งที่ตนยางเจริญเติบโตดี ปลูกในสภาพ
            แวดลอมเหมาะสม และดูแลสวนยางตามคําแนะนํา


                           ลักษณะอาการ
                           1.  ตนยางแสดงอาการบางอยางกอน เชน น้ํายางไหลออกมา

            มากหรือนอยผิดปกติ น้ํายางหยุดไหลชา ความเขมขนของน้ํายางเพิ่มขึ้นหรือลดลง
            จากปกติ
                           2.  ตอมาเมื่อกรีดยางที่ระดับความลึกปกติ น้ํายางจะไมไหล

            เปนบางสวน หรือตลอดรอยกรีด
                           3.  รอยกรีดสวนที่แหงอาจเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล เปลือกใตรอย
            กรีดแตกขยายบริเวณลงไปจนถึงโคนตน และลอนหลุดงาย
                           4.  เมื่อขูดเปลือกนอกออก อาจพบรอยสีน้ําตาลซึ่งเกิดจากการ
            ตายของเซลลบางสวน  โดยเฉพาะที่บริเวณเทาชาง


                                                   ิ
                                                    ี
                           การปองกน  ปจจุบันยงไมมีวธรักษาอาการเปลือกแหงของตน
                                   ั
                                
                                              ั
                                                                           
            ยางที่ไดผลดี จึงเนนการปองกัน ดังน  ี้
                           1.  ใชระบบกรีดใหเหมาะสมกับพันธุยาง และไมกรีดถี่ติดตอกัน
            เปนเวลานาน
                           2.  ไมใชสารเคมีเรงน้ํายางในเปลือกแรก ควรใชกับระบบกรีดที่มี
                 ุ
                                                   
                                 ุ
             ั
            วนหยด และไมใชกับพันธยางที่มีการตอบสนองนอย ไดแก BPM 24, PB 235, PB
                          
                                                        
            255, PB 260 สถาบันวจัยยาง 250สถาบันวจัยยาง 251 และหลีกเลี่ยงสารทาหนา
                                                                           
                              ิ
                                              ิ
            กรีดที่ไมทราบชื่อสารออกฤทธ  ิ์
                                                                     ุ
                                                    
                                               ั
                           3.  ไมเปดกรีดตนยางที่ยงไมไดขนาดเปดกรีด และหยดกรีดยาง
                                        
                              ในระยะที่ตนยางผลิใบใหม
                           4.  ใสปุยบํารุงตนยางตามคําแนะนํา ดินปลูกยางที่มีอินทรียวัตถ  ุ
            ต่ําควรใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี
                            

            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 54
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63