Page 56 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 56

ตารางท 13 การใชสารเคมีปองกันและกําจัดโรคราก (-ตอ)
                  ี่
               ชื่อสามัญ    % สารออกฤทธิ์     อัตราการใช       วิธีการใช
            เฟนิโคลนิล        40 % FS       1.5-3 กรัม / น้ํา 1   ขุดรองรอบโคนตนกวาง
            (feniclonil)                        ลิตร       15-20 เซนติเมตร เท
                                                           สารเคมีที่ผสมลงในรอง
                                                           รอบโคนตน 1-4 ลิตร
            โพรคลอราช         45 % EC      10-20  ซีซี / น้ํา 1ลิตร   ขึ้นอยูกับขนาดโคนตน ใช
            (Prochloraz)
                                                           สารเคมีทุก 6 เดือน อยาง
                                                           นอย 2 ครั้ง

            11. แมลงและศัตรูยางพาราที่สําคัญ

                    1) ปลวก (Coptotermes curvignathus)

                           ลักษณะ เปนปลวกใตดิน วรรณะทหาร มีหัวสีเหลือง เมื่อกัด
            จะปลอยของเหลวสีขาวขุนคลายน้ํานม โดยทางเดินปลวกไมถูกชะลางโดยงาย

            ไมสรางจอมปลวก ทํารังภายในโคนตน และไขฟกออกเปนตว ไมผานระยะตว
                                                              ั
                                                                           ั
            หนอน สวนแหลงอาหารอยูไกลจากรังมาก อาจสรางรังยอยเปนระยะ
                                                                  ิ
                           การทําลาย กัดกินตนยางทุกระยะการเจริญเตบโต และกัด
                                           
                                                 
                                             
            กินทุกสวนของลําตน และราก ทําใหตนโคนลมขณะใบเขยว  โดยกัดกินทั้ง
                                                             ี
                             
            เนื้อเยื่อแหงและสด
                                             
                                   ั
                                
                           การปองกนกาจด ใชสารเคมี carbosulfan หรือ fipronil
                                        ั
                                      ํ
            หรือใชไสเดือนฝอย ราดรอบโคนตน ปริมาณขึ้นอยูกับขนาดของตนยาง
                    2)  หนอนทรายเปนตัวออนของแมลงนูนหลวงซึ่งเปนดวงปกแข็ง
                                                                ั
                                                                        ั
                           ลักษณะ ตวหนอนมีสีขาว รูปรางงอเหมือนตว C  ลําตวยาว
                                    ั
            3-5 เซนติเมตร อาศัยอยูในดิน และรากตอยางเกา ตัวเต็มวัยจะขุดดินเปนโพรงลึกลง
            ไป เพื่อเขาดักแด โดยระบาดในพื้นที่ที่มีดินรวนปนทราย





            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 52
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61