Page 51 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 51
ี่
ตารางท 12 สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคใบรวงใหมฯ
สารเคมี
% สารออก อัตราใช วิธีการใช
ชื่อสามัญ
ฤทธิ์
เบโนมิล 50 % WP ฉีดพนพุมใบอัตรา 100 ลิตร/
(benomyl) 20-30 กรัม ตอน้ํา 20 ลิตร ไร
30-40 ซีซี ตอน้ํา 20 ลิตร ฉีดพนพุมใบอัตรา 100 ลิตร/
เฮกซาโคนา-โวล 5% a.i.
ไร
10-15 ซีซี ตอน้ํา 20 ลิตร ฉีดพนพุมใบอัตรา 100 ลิตร/
โปรปโคนาโซล 25% a.i.
ไร
ฉีดพนพุมใบอัตรา 100 ลิตร/
ไรและฉีดพนพื้นดินในสวนยาง
ไทโอฟาเนต – 20 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร ที่มีโรคใบรวง เพื่อกําจัดเชื้อ
เมธิล ทั้งจากใบยางที่รวงละวัชพืชที่
เปนโรค
10. โรคราก
ื้
โรครากของยางพารามีความสําคัญตอผลผลิตสูงสุดเนองจากเชอเขา
ื่
ุ
ู
้ํ
ทําลายสวนราก ซึ่งใชในการดดนาและธาตอาหารใตดน จะตรวจพบตนยาง
ิ
เปนโรคก็ตอเมื่อสวนที่อยเหนอพื้นดนเริ่มแสดงอาการ ทําใหตนยางบางสวน
ื
ู
ิ
ตายกอนที่จะควบคุมการระบาดได โรครากที่พบในประเทศไทยที่สําคัญ ไดแก
• โรครากขาว (White root disease)
สาเหต : เชอรา Rigidoporusmicroporus(Fr.)Overeem [Syn:
ุ
ื้
Rigidoporuslignosus (Klozsch) lmazeki]
• โรครากแดง (Red root disease)
สาเหต : เชอรา Ganodermapseudoferreum(Wakef)Over
ุ
ื้
&Steinm [Syn : G. philippii (Bres.& Henn. Ex Sacc.) Bres.
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 47