Page 49 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 49
3. ควรใชสารเคมีฉีดพน เพื่อควบคุมการระบาดของโรคในแปลง
ุ
ขยายพันธุ หากเกิดโรครุนแรงในแปลงปลูกที่มีอายนอยกวา 2 ปโดยสารเคมี
เพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรค ดังตารางที่ 11
ี่
ตารางท 11 สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคใบจุดนูน
สารเคมี
ชื่อสามัญ % สารออกฤทธิ์ อัตราใช วิธีการใช
ซีเนบ 80 % WP
(zineb)
คลอโรธาโลนิล 75 % WP 40 กรัม / น้ํา 20
(chlorothalonil) ลิตร
เบโนมิล 50 % WP
(benomyl) - ฉีดพนในยางออนทุก 5 วัน
โพรพิเนบ 70 % WP ประมาณ 5-6 ครั้ง
(propineb)
50 กรัม / น้ํา 20
แมนโคเซบ
(mancozeb) 80 % WP ลิตร
คารเบนดาซิม 50 % WP 20 กรัม / น้ํา 20
(carbendazim ลิตร
9. โรคใบรวงใหมยางพาราที่เกิดจากเชื้อคอลเลโทตริกัม
ั
โรคใบรวงชนิดใหมในยางพารา พบครั้งแรกในประเทศไทยที่จังหวด
ั
ุ
นราธิวาส เมื่อปลายป 2562 กอนระบาดหนกในพื้นที่ภาคใต สาเหตการเกิด
โรคจากเชื้อรา: Colletotrichum sp. ปจจุบันยังไมพบในพื้นที่ปลูกยางใหมแต
เกษตรกรควรศึกษาลักษณะอาการเพื่อการเฝาระวัง
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 45