Page 46 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 46
3. หากเกิดการระบาดรุนแรง ตนยางที่มีอายุนอยกวา 2 ป ควรติดตา
ุ
เปลี่ยนเปนพันธใหมที่ตานทานโรค
ี
ื้
4. แหลงที่มีโรคระบาด ควรใชสารเคมีปองกันกําจัดเชอราฉดพนใน
ี
ุ
แปลงขยายพันธยางเพื่อปองกันโรค และฉดพนตนยางเล็กในชวงผลิใบออน
ั
หลังจากผลัดใบประจําป โดยสารเคมีเพื่อควบคมการแพรระบาดของโรค ดง
ุ
ตารางที่ 9
ี่
ตารางท 9 สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคใบจุดกางปลา
สารเคมี
อัตราใช วิธีการใช
ชื่อสามัญ % สารออกฤทธิ์
เบโนมิล 50 % WP 40 กรัม / น้ํา 20
(benomyl) ลิตร - ในแปลงขยายพันธุฉีดพนพุม
แมนโคเซบ ใบยางออน ทุก 7 วัน
(mancozeb) 80 % WP - ในแปลงปลูกฉีดพนชวงผล ิ
คลอโรธาโลนิล 75 % WP 50 กรัม / น้ํา 20 ใบใหมหลังการผลัดใบ
ลิตร
(chlorothalonil) ประจําป 2 ครั้ง หางกัน 1
คารเบนดาซิม 50 % WP 20 กรัม / น้ํา 20 เดือน
(carbendazim ลิตร
7. โรคใบจุดตานก
ื้
ุ
สาเหตเกิดจากเชอรา :Drechslera (Helminthosporium)
heveae(Petch) M.B. Ellis ลักษณะอาการถาเชอราเขาทําลายในระยะที่ใบ
ื้
ิ
ยังออนมาก ลักษณะอาการจะไมแตกตางจากการเขาทําลายของเชอราชนด
ื้
ุ
อื่นๆ แผนใบจะบิดงอ เหี่ยวแหง และรวง เหลือแตยอด ใบยางที่มีอายมากขน
ึ้
ู
จะปรากฏรอยแผลคอนขางกลม ขนาดเสนผานศนยกลาง 1-3 มิลลิเมตร
เนื้อเยื่อกลางแผลสีซีดมีลักษณะโปรงแสง ขอบแผลมีสีน้ําตาลเขม ในใบยางแก
อาจพบเปนเพียงรอยสีน้ําตาลเขมเทานั้น
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 42