Page 41 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 41
ี่
ตารางท 6 สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคเสนดํา
สารเคมี
ชื่อสามัญ % สารออกฤทธิ์ อัตราใช วิธีการใช
เมทาแลกซิล 25 % WP 7-10 กรัม / น้ํา 1 ทาบริเวณหนากรีด ภายใน
(metalaxyl) ลิตร 12 ชั่วโมง หลังการกรีดยาง
ฟอสเอทธิลอลูมิเนียม 80 % WP 8-10 กรัม / น้ํา 1 ทุกสัปดาห
(fosetylaluminium) ลิตร
3. โรคเปลือกเนา
เกิดจากเชอรา Ceratocystis fimbriata Ellis &Halstลักษณะ
ื้
้ํ
อาการเปลือกงอกใหมเหนอรอยกรีดเปนรอยชา ตอมาเปลือกเนายบตวลง
ุ
ื
ั
ื้
ื้
ถาอากาศชนเชอราเจริญปกคลุม แผลจะขยายขนาดเปนแถบขนานกับรอย
ื้
ุ
กรีดอยางรวดเร็ว ทําใหเปลือกที่หนากรีดยางยบเนา เห็นแตเนอไม เมื่อเฉอน
ื
เปลือกบริเวณรอยยุบและบริเวณขางเคียงรอยแผลจะไมพบอาการเนาลุกลาม
และไมพบรอยสีดําที่เนื้อไมใตแผล ซึ่งแตกตางจากโรคเสนดํา
สภาพที่เหมาะสมตอการระบาด
ื้
ระบาดรุนแรงในสวนยางที่มีลักษณะทึบ มีความชนสูง เชอแพร
ื้
ระบาดโดยลม และแมลง นอกจากนี้ยังพบการระบาดของโรคผานมีดกรีด
พืชอาศัย
ั่
ิ
มีพืชอาศยหลายชนด เชน กาแฟ โกโก มะมวง พืชตระกูลถว
ั
มะพราว และมันฝรั่ง เปนตน
การปองกันกําจัด
1. ตัดแตงกิ่งยาง กําจัดวัชพืชในสวนใหโลงเตยนและอยาปลูกยางให
ี
หนาแนนเกินไป เพื่อลดความชื้นในสวนยาง
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 37