Page 38 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 38
บทที่ 6 : โรค ศัตรู และอาการผิดปกติของยางพาราในพื้นท ี่
ปลูกยางใหม
1. โรคใบรวงและฝกเนาจากเชื้อไฟทอฟธอรา
ุ
สาเหตการเกิดโรคเกิดจากเชอราPhytophthorabotryosaChee,
ื้
P.palmivora(Butl.)Butl. ลักษณะอาการของโรคที่เกิดใบยางรวงพรอมกาน
ู
ี
้ํ
ทั้งที่ยงมีสีเขยวสด มีรอยชาดาขนาดและรูปรางไมแนนอนอยบริเวณกานใบ
ํ
ั
ํ
ู
้ํ
กลางรอยชามีหยดนายางเกาะตดอย เมื่อนาใบยางที่เปนโรคมาสะบัดเบา ๆ
้ํ
ิ
ื้
ใบยอยจะหลุดจากกานใบทันที สวนใบที่ถกเชอเขาทําลายที่ยงไมรวงจะ
ั
ู
ู
เปลี่ยนเปนสีเหลืองแกรมสม แลวแหงคาตนกอนที่จะรวง ฝกยางที่ถกทําลาย
ู
ํ
่ํ
้ํ
เปลือกเปนรอยช้ําฉานา ตอมาจะเนาดาคางอยบนตนไมแตกและไมรวงหลน
ตามธรรมชาติ กรณีที่เกิดกับตนยางออน เชื้อราจะเขาทําลายบริเวณยอดออน
กอน ทําใหยอดเนา แลวจึงลุกลามเขาทําลายกานใบและแผนใบ ทําใหตนยาง
ยืนตนตายได
สภาพที่เหมาะสมตอการระบาด
ึ
ุ
ื
ู
สวนใหญการแพรระบาดของโรคอยในชวงระหวางเดอนมิถนายนถง
ุ
เดอนธนวาคม โรคนมักจะระบาดมากในสภาพฝนตกชก ความชนสูง
ื้
ี้
ื
ั
ตอเนื่องกันหลายวัน มักเกิดกับตนยางเล็กจนถึงตนยางใหญ
พืชอาศัย
ิ
ั
้ํ
มีพืชอาศยหลายชนด เชน ทุเรียน สม พริกไทย ปาลมนามัน โกโก
และมะละกอ เปนตน
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 34