Page 40 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 40


            รอยบุมจะเห็นลายเสนสีดําบนเนื้อไม ตอมาเสนสีดําขยายกวางขึ้นและเชื่อมตอ
            กันเปนแผลกวางตามหนากรีด ถาอาการรุนแรงเปลือกบริเวณที่เปนโรคจะปริ

               ้ํ
                                                                        ั
                                                               ้ํ
                                
            มีนายางไหล เปลือกเนา ในบางครั้งอาจพบเปลือกแตก มีนายางจับตวเปน
            กอนอยูใตเปลือก มีกลิ่นเหม็น
                    สภาพที่เหมาะสมตอการระบาด

                                                                  
                    พบการระบาดในแปลงยางที่มีความชนสูง โดยเฉพาะชวงฤดฝน ที่มี
                                                   ื้
                                                                      ู
            การระบาดของโรคใบรวงและฝกเนา เชื้อราจะถูกชะลางโดยน้ําฝนลงมาที่หนา
            กรีด หากกรีดยางติดตอกันโดยไมมีการปองกันรักษาหนากรีดจะทําใหเกิดโรค

            รุนแรง พันธุที่ออนแอตอโรคใบรวงจะออนแอตอโรคเสนดําดวย

                    พืชอาศัย

                                         
                                     ิ
                            ั
                    มีพืชอาศยหลายชนด เชน ทุเรียน สม พริกไทย มะละกอ โกโก
            มะพราว แตงโม และยาสูบ เปนตน
                    การปองกันกําจัด

                    1. แหลงปลูกยางที่เปนเขตระบาดของโรค ไมควรเลือกปลูกยางพันธ ุ

            ออนแอ เชน RRIM 600
                                          
                                      ั
                                                                     
                    2. กําจัดวชพืชและตดแตงกิ่งในสวนยาง เพื่อใหอากาศถายเทได 
                            ั
            สะดวก เปนการลดความชื้นในสวนยาง
                                                                  
                           ู
                    3. ในฤดฝน ควรทาสารเคมีปองกันกําจัดโรคที่หนากรีด และ
                                                                     
            หลีกเลี่ยงการกรีดยางขณะตนเปยกในชวงที่มีโรคใบรวงและฝกเนาระบาด
                                     
                                               
            สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรค ดังตารางที่ 6






            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 36
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45