Page 42 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 42
2. เมื่อตนยางเปนโรค ใหใชสารเคมีปองกันกําจัดเชอราทาหนากรีด
ื้
ยาง โดยขูดเอาสวนที่เปนโรคออกแลวทาสารเคมีจนกวาหนากรีดยางจะแหง
เปนปกต สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรค ดังตารางที่ 7
ิ
ี่
ตารางท 7 สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคเปลือกเนา
สารเคมี
ชื่อสามัญ % สารออกฤทธิ์ อัตราใช วิธีการใช
เบโนมิล 50 % WP 20 กรัม / น้ํา 1 ลิตร
(benomyl) ผสมสารจับใบ 2 ซีซี พนหรือ
ทาหนากรีดยางทุก 7 วัน
เมทาแลกซิล 25 % WP 14กรัม / น้ํา 1 ลิตร อยางนอย 4 ครั้ง
(metalaxyl)
4. โรคราสีชมพู
ื้
เกิดจากเชอรา Corticium salmonicolor Berk. & Br. มีลักษณะ
ื้
้ํ
ั
อาการ บริเวณกิ่งอาการขนแรกที่เชอราเขาทําลายเห็นเปนรอยนายางถกขบ
ั้
ู
้ํ
ํ
ไหลออกมาเปนทางยาวใตรอยแผล เมื่อนายางแหงจะมีราดาเขาจับ เวลา
อากาศชุมชื้นเชื้อราจะเจริญเติบโตเต็มที่และเปลี่ยนเปนสีชมพู มีรอยแตกเล็ก
ๆ กระจายทั่ว สวนของตนยางเหนอสวนที่เปนโรคจะแหงตาย มีกิ่งออนแตก
ื
เจริญขนมาใหมจากสวนใตรอยแผล
ึ้
สภาพที่เหมาะสมตอการระบาด
อากาศมีความชุมชื้น ชวงฤดูฝน
พืชอาศัย
ยางพารา เงาะ ขนุน มะมวง ชา โกโก กาแฟ
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 38