Page 39 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 39
การปองกันกําจัด
1.แหลงปลูกยางที่เปนเขตระบาดของโรค ไมควรเลือกปลูกยางพันธ ุ
ออนแอ เชน RRIM 600
ั
2. กําจัดวชพืชและตดแตงกิ่งในสวนยาง เพื่อใหอากาศถายเทได
ั
สะดวก เปนการลดความชื้นในสวนยาง
3. ตนยางใหญที่เปนโรครุนแรงจนใบรวงหมด ควรหยุดกรีดและใสปุย
บํารุงตนยางใหสมบูรณ
่ํ
ั
4. ตนยางเล็กที่เริ่มแสดงอาการตายจากยอด ใหตดยอดตากวารอย
แผลประมาณ 5 เซนติเมตร
5. ในแปลงขยายพันธยาง ควรแยกตนยางชาถงที่เปนโรคออกจาก
ุ
ํ
ุ
แปลง และฉีดพนสารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรค ดังตารางที่ 5
ี่
ตารางท 5 สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคใบรวงและฝกเนาจาก
เชื้อไฟทอฟธอรา
สารเคมี
ชื่อสามัญ % สารออกฤทธิ์ อัตราใช วิธีการใช
เมทาแลกซิล 25 % WP
(metalaxyl) 40 กรัม / น้ํา 20 ฉีดพนพุมใบยางเมื่อเริ่มพบ
ฟอสเอทธิลอลูมิเนียม ลิตร การระบาดทุก 7 วัน
(fosetylaluminium) 80 % WP
2. โรคเสนดํา
ื้
ุ
สาเหตการเกิดโรคเกิดจากเชอราPhytophthorabotryosaChee,
ื
P.palmivora(Butl.)Butl.ในระยะแรกของการทําลาย บริเวณเหนอรอยกรีด
จะมีลักษณะเปนรอยช้ํา ตอมายุบตัวลงกลายเปนรอยบุมสีดาหรือสีนาตาลดา
ํ
ํ
้ํ
ตามแนวยาวของลําตน และอาจลุกลามลงใตรอยกรีด เมื่อเฉือนเปลือกบริเวณ
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 35