Page 44 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 44

พืชอาศัย
                    หญายาง เงาะ มะมวง


                    การปองกันกําจัด

                    1. เขตที่มีการระบาดของโรคที่รุนแรงไมควรปลูกยางพันธออนแอ
                                                                      ุ
            เชน PB 235 สถาบันวิจัยยาง 226 การเลือกพันธุควรคํานึงถึงลักษณะการผลัด

            ใบ พันธุยางที่ผลัดใบเร็วจะหลีกเลี่ยงโรคไดดีกวา
                    2. เกษตรกรควรใสปุยเคมีในชวงปลายฤดูฝนตามคาแนะนาเพื่อใหใบ
                                                                   ํ
                                                             ํ
            ที่ผลิออกมาใหมสมบูรณและแกเร็ว พนระยะออนแอตอการเขาทําลายของเชอ
                                                                           ื้
                    3. หากพบการระบาดของโรค ใหใชสารเคมีฉดพนใบยางออน โดย
                                                          ี
                                                  
            สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรค ดังตารางที่ 8


            ตารางท 8 สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคราแปง
                   ี่
                       สารเคมี                อัตราใช          วิธีการใช
                 ชื่อสามัญ     % สารออก
                                 ฤทธิ์
            เบโนมิล           50 % WP
            (benomyl)
            คารเบนดาซิม      50 % WP     20 กรัม / น้ํา 20 ลิตร
            (carbendazim)                                 ฉีดพนใบยางออนทุกสปดาห 
                                                                   
                                                             
                                                                        ั
            ซัลเฟอร          80 % WP                     ในชวงที่เริ่มพบโรค
            (sulfur)
            ไตรดีมอรฟ*       75 % EC     10 ซีซี / น้ํา 20 ลิตร
            (tridemorph)
            กํามะถันผง                    1.5-4 กิโลกรัม / ไร    พนใบยางออนในชวงเชาตร ู
                                                          เพื่อหลกเลี่ยงลม และอาศัย
                                                              ี
                                                          ประโยชนจากน้ําคาง
            *หามใชอัตราสูงกวาคําแนะนําเพราะจะทําใหใบยางไหม




            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 40
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49