Page 48 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 48
8. โรคใบจุดนูนที่เกิดจากเชื้อคอลเลโทตริกัม
สาเหตุการเกิดโรคเกิดจากเชื้อรา:Colletotrichumgloeosporioides
(Penz.) Sacc. และ Colletotrichum sp.
ลักษณะอาการ
ู
ื้
อาการจดนน ใบออนจะถกเชอเขาทําลายรุนแรง ปลายใบบิดงอ
ู
ุ
เหี่ยวแหงและรวง ในระยะเพสลาดใบยางบางสวนอาจบิดงอ และพบจุดแผล
สีน้ําตาล ขอบแผลมีสีเหลือง ขนาดประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ตอมาจุดเหลาน ี้
ื้
จะนูนขึ้น เนื้อเยื่อตรงกลางแผลอาจทะลุเปนรู หากสภาพอากาศชนตอเนอง
ื่
เชื้อจะเขาทําลายกิ่งออนหรือยอดออน ทําใหตายจากยอด
ิ
ิ
อาการแอนแทรคโนส มักเกิดกับตนยางที่ปลูกในพื้นที่ดนทราย ดน
ี
ดาง หรือพื้นที่ระบายนาไมด รอยแผลบนใบมีขนาดตาง ๆ กัน เนอเยอกลาง
้ํ
ื่
ื้
แผลมีลักษณะลายเสนเปนวงซอนกันสีดํา ขอบแผลมีสีน้ําตาลเขม เนื้อเยื่อรอบ
แผลมีสีเหลือง อาการขั้นรุนแรงใบจะเหลืองและรวงบริเวณลําตนออนอาจพบ
รอยแผลเปนวงรีสีน้ําตาล และขยายใหญขึ้นจนลุกลามไปรอบตนทําใหตนยาง
ตาย
สภาพที่เหมาะสมตอการระบาด
ื่
ู
ื้
ชวงยางใบออน ถามีฝนตกตอเนอง มีอุณหภมิและความชนสูงจะ
ระบาดรุนแรง
พืชอาศัย
ิ
มีพืชอาศยหลายชนด เชน กลวย มะละกอ สม ชา กาแฟ โกโก
ั
และอะโวคาโด เปนตน
การปองกันกําจัด
1. ใสปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีตามคาแนะนา ควรแบงใสครั้งละ
ํ
ํ
นอยแตบอยครั้ง
2. จัดการระบายน้ําในพื้นที่ที่มีการระบายน้ําไมด ี
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 44