Page 45 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 45

6. โรคใบจุดกางปลา
                         ุ
                                             ื้
                               ิ
                    สาเหตการเกดโรคเกิดจากเชอรา corynesporacassiicola (Berk.
                                                                ุ
            & Curt.) Wei ลักษณะอาการของโรคแตกตางกันขึ้นอยูกับพันธและระยะการ
            เจริญเติบโต อาการบนใบที่พบมีทั้งจุดแผลลักษณะกลม หรือรูปรางไมแนนอน
                           ึ
                                                          ้ํ
            ขนาดเล็กไปจนถงแผลขนาดใหญ กลางแผลแหงมีสีนาตาลออนขอบแผลสี
              ้ํ
                         ื้
                    
                            ื่
            นาตาลเขม เนอเยอรอบรอยแผลมีสีเหลือง บางครั้งอาจพบเนอเยอบริเวณ
                                                                     ื่
                                                                 ื้
            กลางแผลยุบตัวมีลักษณะเปนวงซอนกัน เนื้อเยื่อกลางแผลที่แหงอาจขาดเปนรู
            ถาแผลขยายลุกลามเขาไปตามเสนใบทําใหแผลมีลักษณะคลายกางปลา หาก
            สภาพอากาศเหมาะสมในระยะใบยางสีเขยวออนหลังการผลัดใบ จะปรากฏ
                                               ี
            อาการรุนแรงภายใน 2 สัปดาห เกิดอาการใบไหมแหง เปนสีนาตาลซีด และ
                                                                 ้ํ
            รวง ทําใหทรงพุมโปรง อาจแตกใบใหมและถูกเชื้อเขาทําลายซ้ําอีก ยอดออนที่
            ถูกทําลายเปนแผลรูปกระสวย สีน้ําตาลขยายไปตามความยาวของลําตน ทําให

            กิ่งแหง และยืนตนตายในที่สุด


                    สภาพที่เหมาะสมตอการระบาด
                    ชวงใบออนที่มีสภาพอากาศรอน ความชื้นสูง มีฝนตกเปนครั้งคราว


                    พืชอาศัย

                                                                          
                    มีพืชอาศัยจํานวนมาก เชน งา ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ฝาย ยาสูบ ระยอม
            มะละกอ แตงโม มะเขือเทศ ผักกาดหอม เปนตน


                    การปองกันกําจัด

                    1. ไมควรปลูกพันธุออนแอในพื้นที่ที่สภาพอากาศเหมาะสมตอการ
            ระบาดของโรค เชน พันธุ RRIC 110 ฉะเชิงเทรา 50 RRIM 600

                    2. ใสปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียตามคําแนะนํา





            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 41
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50