Page 47 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 47

สภาพที่เหมาะสมตอการระบาด
                                                               ิ
                    โรคนี้ระบาดรุนแรงในแปลงกลายางที่ปลูกในพื้นที่ดนทราย ดนรวน
                                                                       ิ
            ปนทราย หรือดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา แพรระบาดในสภาพอากาศรอนชื้น


                    การปองกันกําจัด
                    1. ไมควรเลือกพื้นที่ปลูกตนกลายางที่เปนดินทราย

                    2.ใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก ชวยปรับโครงสรางของดิน
                    3. ถามีโรคระบาดรุนแรง ใชสารเคมีฉีดพนทุกสัปดาหติดตอกันจนกวา

                                   
                                                       ุ
              
            ตนยางจะมีใบใหมสมบูรณ  โดยสารเคมีเพื่อควบคมการแพรระบาดของโรค
            ดังตารางที่ 10


                   ี่
            ตารางท 10 สารเคมีเพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคใบจุดตานก
                        สารเคมี                อัตราใช         วิธีการใช
                 ชื่อสามัญ    % สารออกฤทธิ์
            แมนโคเซบ
            (mancozeb)          80 % WP     50 กรัม / น้ํา 20
            โพรพิเนบ            75 % WP         ลิตร
            (propineb)                                    - ฉีดพนใบยางออนทุก 7 วัน
            คลอโรธาโลนิล        75 % WP
            (chlorothalonil)
            คารเบนดาซิม        50 % WP     20 กรัม / น้ํา 20
            (carbendazim                        ลิตร











            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 43
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52