Page 50 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 50

ลักษณะอาการ
                    ใตใบเปนรอยช้ําคอนขางกลม ผิวใบดานบนบริเวณเดียวกันสีเหลือง

            ตอมาเนื้อเยื่อแหงตายสีน้ําตาลซีดเปนรอยแผลกลมเรียบ ขนาดใหญ


                    สภาพที่เหมาะสมตอการระบาด
                                                                    
                                                                         ื
                    ระยะแรกจะพบอาการบนใบยางแกประมาณชวงเดอน
                                                                       ู
            กรกฎาคม – มกราคม ถามีฝนตกตอเนอง อยางนอย 2 วน มีอุณหภมิและ
                                           
                                              ื่
                                                       
                                                    
                                 
                                                              ั
            ความชนสูง จะระบาดรุนแรง และจะมีใบรวงมากหลังฝนตกหนกตดตอกัน
                                                                   ั
                                                                      ิ
                  ื้
                                                                        
            ในชวงเดือนตุลาคม – มกราคม และชวงเดอนกุมภาพันธ – เมษายน ตนยาง
                                                ื
                                            
                                                            
                                                                        
            พลัดใบตามฤดูกาลจะมีการระบาดลดลง และพบระบาดในยางพาราทุกพันธ      ุ
            เกษตรกรที่ปลูก
                    พืชอาศัย
                                         
                                     ิ
                    มีพืชอาศยหลายชนด เชน กลวย มะละกอ สม ชา กาแฟ โกโก
                            ั
            และอะโวคาโด เปนตน
                    การปองกันกําจัด
                    1.  กําจัดวัชพืช เก็บเศษซากใบ และสวนที่เปนโรคออกจากแปลง
            ฝงกลบหรือกองรวมโรยปูนขาวและยูเรีย (ปริมาณรอยละ 10 ของน้ําหนกปูน)
                                                                        ั
            รดน้ําตาม
                    2.  หากน้ําทวมขัง แปลงยางพาราใหทํารองระบายน้ําออกจากแปลง
                    3.  ใสปุยบํารุงตามแนะนําวิชาการของสถาบันวิจัยยางเพื่อสราง
            ความสมบูรณใหตนยาง

                    4.  พิจารณาหลีกเลี่ยงในการใชยางชําถุงจากพื้นที่ระบาด
                    5.  ใชสารเคมีฉดพนบริเวณทรงพุมใหทั่วทั้งแปลงดังตารางที่ 12
                                 ี






            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 46
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55