Page 55 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 55


                                                                           ั
                                                               
                    ิ
                                                            
            ผงผสมดนในหลุมปลูก 100 กรัม / หลุม แลวทิ้งไวอยางนอย 15 วน
            เพื่อปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคราเขาทําลายรากยาง
                       3.  แปลงปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่ว ควรปลูกใหหางจากแถวยาง
            ประมาณ 1.5 เมตร
                      หลังปลูก
                       1.  ควรสํารวจตนยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะตนที่ปลูกในบริเวณที่
            เคยเปนโรค หากพบตนยางที่แสดงอาการใบเหลืองผิดปกต ควรขดดโคนตน
                               
                                                              ิ
                                                                   ุ
                                                                      ู
                                                                           
                                               ุ
                                                      ุ
                                     ื้
                                                                        ั้
            และราก หากพบเสนใยของเชอราสาเหตโรค ใหขดเผาทําลายเพื่อยบยงการ
                                                                     ั
            ระบาดของโรค
                       2.  ตนยางที่มีอายุมากกวา 3 ป ขึ้นไป ควรขุดคูกวาง 3
                                                                    
                                ิ
            เซนติเมตร ลึก 60 เซนตเมตรจํากัดบริเวณที่เปนโรค โดยขดระหวางตนที่อย ู
                                                                       
                                                             ุ
                                                                
                                                       
                                                 ี
            ถัดไปจากตนที่แสดงอาการทางใบในแถวเดยวกันขางละ 2 ตน และกึ่งกลาง
                      
            ระหวางแถวขางเคียงของแถวยางที่พบโรคกับแถวถัดไปทั้งสองขางเพื่อปองกัน
            การลุกลามทางราก และควรขุดลอกคูทุกป
                       3.  ใชสารเคมีสําหรับรักษาตนที่เปนโรค และตนขางเคียงเพื่อ
            ปองกันโรค ดังตารางที่ 12
           ตารางท 13 การใชสารเคมีปองกันและกําจัดโรคราก
                  ี่
                 ชื่อสามัญ    % สารออกฤทธิ์    อัตราการใช       วิธีการใช
              ไตรดีมอรฟ        75 % EC
              (tridemorph)
              ไซโปรโคนาโซล      10 % SL     5-10 ซีซี / น้ํา 1 ลตร   ขุดรองรอบโคนตนกวาง
                                                        ิ
              (cyproconazole)                               15-20 เซนติเมตร เท
              โปรปโคนาโซล      25 % EC                     สารเคมีที่ผสมลงในรอง
              (propiconazole)                               รอบโคนตน 1-4 ลิตร
              มายโครบิวทานิล   12.5 % EC                    ขึ้นอยูกับขนาดโคนตน
              (myclobutanil)                                ใชสารเคมีทุก 6 เดือน
              เฮกซะโคนาโซล      5 % EC       10 ซีซี / น้ํา 1 ลิตร   อยางนอย 2 ครั้ง

              (hexaconazole)
              ไดฟโนโคนาโซล
              (difenoconazole)   25 % EC

            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 51
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60