Page 54 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 54

พืชอาศัย
            โรครากขาว :  มีพืชอาศยมากมายทั้งไมปาและพืชปลูก เชน ทุเรียน ขนน
                                                               
                                  ั
                                                                           ุ
            จําปาดะ มะพราว ปาลมน้ํามัน ไผ สม ชา กาแฟ โกโก เนียงนก พริกไทย พริก
                ู
              ี้
                                                                     ื
                        
            ขหน นอยหนา มันสําปะหลัง สะเดาบาน สะเดาเทียม ทัง มะเขอเปราะ
                   
            กระทกรก มันเทศ สะตอ ลองกอง
            โรครากแดง : ทุเรียน มังคุด ลองกอง สะตอ สะเดาบาน สัก ทัง โกโก ชา เงาะ
            มันสําปะหลัง ขนุน จําปาดะ

            โรครากแดง : ทุเรียน มังคุด อะโวกาโด ลองกอง สละ สะเดาบาน มะฮอกกานี
            สัก ยางนา ปาลมน้ํามัน โกโก สม ชา กาแฟ เงาะ


            การปองกันกําจัดโรคราก
                      กอนปลูก

                       1.  ตรวจสอบกอนโคนวามีตนยางกลุมใดเปนโรคราก แลวทํา
            เครื่องหมายเพื่อเปนพื้นที่เฝาระวังหลังปลูก
                       2.  เตรียมพื้นที่ปลูกยางควรทําลายตอไม ทอนไมเกา และเศษ

            รากออกใหหมดเทาที่สามารถทําได โดยเฉพาะตรงบริเวณที่เคยเปนโรคควร
                                          
                                                           ื้
                                                                       ิ
            เผาทําลาย จากนั้นไถพลิกหนาดนตากแดด เพื่อกําจัดเชอราที่เจริญเตบโตใน
                                       ิ
                                     
            ดินและเศษไมเล็กๆ ที่หลงเหลือในดิน
                       3.  ในแปลงยางปลูกแทนที่เคยเปนโรคราก ควรเตรียมพื้นที่แลว
                                                       ั่
                       
                   
                                                                     ุ
            ปลอยวางไวประมาณ 1-2 ป ปลูกพืชคลุมตระกูลถว หรือพืชไรอายสั้น เพื่อ
                                                               
            ปรับสภาพดนใหเหมาะสมกับการเจริญเตบโตของจุลินทรียดนและสิ่งมีชวต
                                                                ิ
                                                                          ี
                       ิ
                                                ิ
                                                                           ิ
            เล็ก ๆ ชวยยอยสลายเศษรากซึ่งเปนแหลงอาศัยของเชื้อโรค
                      ขณะปลูก
                       1.  การวางแนวในการปลูกแทน ควรเปลี่ยนจุดที่เจาะหลุมปลูก
            ใหอยูระหวางแถวเดิม เพื่อลดโอกาสในการติดเชื้อ
                                                                     
                       2.  แปลงยางที่มีประวัติการเปนโรครากมากอน ควรใชกํามะถัน

            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 50
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59