Page 57 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 57
การทําลาย กัดกินรากยาง ทําใหตนยางใบเหลือง และเหี่ยว
แหงตาย
การปองกันกําจัด ดักจับตัวเต็มวัยดวยกับดักแสงไฟ หรือ
ใชสารเคมี carbosulfan หรือ fipronil ราดรอบโคนตนยางและตอยางเกา
3) เพลี้ยหอย
ลักษณะ เกาะตามกิ่งกานของตนยาง โดยเพลี้ยหอยตัวเมียจะ
ั
สรางเกราะสีนาตาลแก หนาประมาณ 0.3 - 0.5 มิลลิเมตร ไวปองกันตว จะมีระบาด
้ํ
ชวงอากาศแหงแลง
การทําลาย ดูดกินน้ําเลี้ยงจากกิ่งกานที่มีสีเขียว ทําให
ชะงักการเจริญเติบโต จนตนยางแหงตาย
การปองกันกําจัด ใชศัตรูธรรมชาติ เชน แมลงห้ําหรือแมลง
เบียนหรือเชื้อราทําลายไขและตัวออน หรือใชสารเคมี White Oil ฉีดพน
12. อาการเปลือกแหง
อาการเปลือกแหงของตนยาง เปนลักษณะความผิดปกตของการไหลของ
ิ
น้ํายาง ทําใหผลผลิตลดลงจนกระทั่งไมสามารถเก็บผลผลิตได โดยปกติในสวนยางจะ
มีตนยางแสดงอาการเปลือกแหงเพิ่มขึ้นทุกปแตไมควรมากกวารอยละ 1 ตอป
ุ
ุ
ึ่
สาเหต เกิดจากการชักนําดวยสาเหตใดสาเหตหนง หรือหลายสาเหต ุ
ุ
รวมกัน ดังน ี้
1. กรีดถ ี่
2. ใชสารเคมีเรงน้ํายางมากเกินไป
3. พันธุยางบางพันธุ เชน BPM 24 PB 235 และพันธุยาง
้ํ
ที่ใหผลผลิตนายางสูง มีแนวโนมการเกิดอาการเปลือกแหงไดงายโดยเฉพาะ
เมื่อกรีดถี่กวาคําแนะนํา
4. เปดกรีดตนยางที่ยังไมไดขนาดเปดกรีด
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 53