Page 68 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 68

กําจัดเชื้อราดวย เพื่อใหเห็นรองรอยบริเวณที่ทาสารเคมีแลว แตการใชฝุนแดง
            เพียงอยางเดียวทาหนากรีด ไมมีผลในการควบโรคโดยตรงแตอยางใด

                                                  ื่
                        การใชสารทาหนากรีดเพอเพมผลผลิตนายาง ควรใช          
                                                                ้ํ
                                                      ิ่
                                           
                                                          ํ
                                                                      
                       ้ํ
                                                                         
            สารเคมีเรงนายางเอทธิฟอน (ethephon) โดยแนะนาใหใชความเขมขนไม
                                                               
            เกิน 2.5% ทาที่หนากรีดตามคําแนะนํา ไมควรใชในอัตราความเขมขนสูง หรือ
            ใชถี่จนเกินไป เพราะจะทําใหตนยางเกิดอาการเปลือกแหงไดอยางรวดเร็ว
            หลักการพิจารณาในการเลือกใชสารทาหนากรีด
                                                                       
                        เลือกใชสารทาหนากรีดใหตรงกับวัตถุประสงค เชน ตองการ
                                                            ื้
                  
                                        
                                                                           
                               ุ
            ทาหนากรีดเพื่อควบคมโรค ก็ใชสารเคมีปองกันกําจัดเชอราทาโดยตรง ถา
            ตองการทาหนากรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ํายาง ก็ใชสารเคมีเรงน้ํายาง
                        หลีกเลี่ยงการใชสารทาหนากรีดที่ไมทราบชื่อสามัญ หรือสาร
                          ั
                                                        
                                                   ั
            ออกฤทธ  ผลิตภณฑที่มีสวนผสมของสารสําคญที่ใชในการปองกันกําจัดโรค
                    ิ์
            จัดเปนวัตถุอันตราย ตองขึ้นทะเบียนและขออนุญาตตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย
                                         ั
                                    
            พ.ศ. 2535 ดงนนเพื่อใหไดผลิตภณฑที่มีคณภาพ  เกษตรกรควรเลือกซื้อ
                                                 ุ
                        ั
                          ั้
                                         ู
            ผลิตภณฑทาหนากรีดที่มีฉลากถกตองตามประกาศกระทรวงเกษตรและ
                           
                                            
                  ั
                                                                      ี
                                                                          ั
            สหกรณ ซึ่งประกอบดวย ชื่อการคา ชื่อสามัญ ชื่อทางเคมี เลขทะเบยนวตถ ุ
                                                                  ื
                                                              ั
                                                            ุ
                                                                        ี่
                                                                       
                            
                     ี่
              ั
                                    ิ
            อนตรายทออกใหโดยกรมวชาการเกษตร ขนาดบรรจ วน เดอน ปทผลิต
                                                                      
            หรือหมดอายุ  อตราสวนผสมและลักษณะผลิตภณฑ วตถประสงคการใช
                                                               ุ
                                                            ั
                                                       ั
                           ั
            ประโยชน วธีใช วธีเกบรักษา คาเตอนและเครื่องหมายแสดง ชื่อผผลิต
                                                                        ู
                       ิ
                                ็
                             ิ
                     
                                            ื
                                         ํ
            ผูนําเขา พรอมสถานที่ตั้ง อาการเกิดพิษและการแกพิษ



            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 64
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73