Page 20 - ชุดที่ 5 เซลล์ไฟฟ้าเคมี ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์)
P. 20

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาเคมี เรื่อง ไฟฟ้าเคมี ชุดที่ 5 เซลล์ไฟฟ้าเคมี (ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์)
























                      การเปรียบเทียบความสามารถในการรับและจ่ายอิเล็กตรอน





                  หลักการพิจารณา :
                                               o
                     สารในครึ่งปฏิกิริยาที่มีค่า E สูง จะเป็น ตัวออกซิไดส์ (รับอิเล็กตรอน) ที่ดีกว่า
                                                                                         ี่
                     สารในครึ่งปฏิกิริยาทมีค่า E ต่ า จะเป็น ตัวรีดิวซ์ (จ่ายอิเล็กตรอน) ทดีกว่า
                                          ี่
                                                o


                  ตัวอย่างที่ 1 จงเรียงล าดับความสามารถในการรับและจ่ายอิเล็กตรอนของโลหะ

                                          o
                  ก าหนดปฏิกิริยาและค่า E ให้ ดังนี้
                                   2+
                                                              o
                                           –
                                Cu + 2e → Cu                 E = +0.34 V
                                          –
                                                              o
                                  2+
                                Ni + 2e → Ni                 E = -0.23 V
                                Fe + e → Fe          2+      E = +0.77 V
                                                              o
                                   3+
                                         –
                                           –
                                                              o
                                Pb + 2e → Pb                 E = -0.13 V
                                   2+
                  วิธีท า
                         จากปฏิกิริยาที่ก าหนดให้เป็นปฏิกิริยาการรับอิเล็กตรอน ดังนั้น ค่า E o
                                                                               o
                  ที่ก าหนดให้จะเป็นความสามารถในการรับอิเล็กตรอน โดยถ้าค่า E สูง
                  แสดงว่าโลหะนั้นรับอิเล็กตรอนได้ดี ดังนั้น
                                                                                    2+
                                                                             2+
                                                                     3+

                  ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนเรียงลาดับได้ คือ  Fe > Cu > Pb > Ni         2+
                  ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนเรียงลาดับได้ คือ  Ni > Pb > Cu > Fe     2+









                                                                         E l e c t r o c h e m i s t r y  19
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25