Page 137 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 137
ข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขตามสายงานที่ส าคัญ
ตามฐานข้อมูล GIS โรงพยาบาลภาครัฐ จ้านวน 5 แห่ง ของจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าจังหวัด
สมุทรปราการ ยังขาดแคลนบุคลากรด้านสาธารณสุขในทุกสาขาวิชาชีพหลักในทุกสาขา รายละเอียดดังตารางที่ 8
ตารางที่ 8 แสดงจ านวนบุคลากรจ าแนกตามสายงาน
บุคลากรสาธารณสุข จ านวนที่มีจริง จ านวนที่ควรมีตามเกณฑ์ ส่วนขาด
แพทย์ 115 203 88
ทันตแพทย์ 43 119 76
เภสัชกร 78 110 32
พยาบาล 595 1,203 614
สภาวะสุขภาพของประชาชน
ข้อมูลสถิติชีพของประชาชนจังหวัดสมุทรปราการ โดยเฉลี่ยแล้วมีอายุยืนยาวขึ้น โดยมีอายุคาดเฉลี่ย
เมือแรกเกิด (Life Expectancy of birth) คือจ้านวนปีที่คาดว่าคนจะมีชีวิตอยู่นับตั้งแต่แรกเกิดจนเสียชีวิต ใน
ปี พ.ศ.2553 เท่ากับ 71.64 เพศชายมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดคือ 68.3 ปี เพศหญิง 74.8 ปี ซึ่งสถิติอายุ
คาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประเทศ คือเพศชายอายุ 68.8 ปี และเพศหญิง อายุ 73 ปี และของโลก เพศชาย
อายุ 67 ปี และเพศหญิง อายุ 71 ปี
สาเหตุการป่วยที่ส้าคัญ 5 ล้าดับแรกของจังหวัดสมุทรปราการ ในปี 2553 ได้แก่ (1) โรคระบบ
หายใจ (2) โรคระบบไหลเวียนเลือด (3) โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อและโภชนาการ (4) โรคระบบย่อยอาหารรวม
โรคช่องปาก และ (5) โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้าง
สาเหตุการตายที่ส้าคัญของจังหวัดสมุทรปราการ ปี 2553 พบว่า สาเหตุการตายที่ส้าคัญ 5ล้าดับแรก
ได้แก่ (1) โรคมะเร็งทุกชนิด (2) ความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดในสมอง (3) โรคปอดอักเสบและโรคอื่น
ของปอด (4) โรคหัวใจ และ (5) โรคเกี่ยวกับตับและตับอ่อน
ส้าหรับปัญหาสาธารณสุขที่ส้าคัญของจังหวัดสมุทรปราการ 10 ล้าดับแรก ได้แก่ (1) โรคไข้เลือดออก
(2) โรคเอดส์ (3) ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม (4) ปัญหาด้านระบบบริการสุขภาพ (๕) โรคมะเร็ง ได้แก่ มะเร็งเต้านม
และมะเร็งปากมดลูก (6) ยาเสพติด/บุหรี่ (7) โรคความดันโลหิตสูง (8) โรคเบาหวาน (9 อุบัติเหตุจราจร (10)
ปัญหาสุขภาพจิต
สถานที่ท่องเที่ยวที่ส าคัญในจังหวัดสมุทรปราการ มีดังนี้
วัดบางพลีใหญ่ใน (วัดพระนอน)ตั้งอยู่บริเวณริมคลองส้าโรง ต้าบลบางพลีใหญ่ อ้าเภอบางพลี
จังหวัดสมุทรปราการ มีพระนอนปางไสยยาสน์องค์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย หล่อด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กลง