Page 132 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 132
ภาคเกษตรกรรม
จังหวัดสมุทรปราการ มีพื้นที่ท้าการเกษตร จ้านวน 181,335 ไร่ หรือร้อยละ 28 ของพื้นที่ทั้งหมด
มีครัวเรือนเกษตรกร จ้านวน 8,170 ครัวเรือน โดยอ้าเภอบางบ่อ มีพื้นที่การเกษตรมากที่สุด คือ 69,810 ไร่
รองลงมาคือ อ้าเภอบางเสาธง บางพลี พระสมุทรเจดีย์ เมืองสมุทรปราการ และพระประแดง ตามล้าดับ
ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลพื้นที่และครัวเรือนเกษตรกร ปี 2552 - 2553
อ าเภอ พื้นที่ทั้งหมด (ไร่) พื้นที่การเกษตร (ไร่) ครัวเรือนเกษตรกร (ครัวเรือน)
เมืองสมุทรปราการ 119,098 14,696 579
บางบ่อ 153,130 69,810 2,738
บางพลี 152,430 31,313 1,470
พระประแดง 45,855 2,794 797
พระสมุทรเจดีย์ 75,236 24,004 1,024
บางเสาธง 81,808 38,718 1,562
รวม 627,557 181,335 8,170
ที่มา : ส้านักงานเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ
ด้านพืช
ส้าหรับพื้นที่การเกษตร จ้านวน 181,335 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกข้าวมากที่สุด จ้านวน 29,389 ไร่ ปลูกที่
อ้าเภอบางบ่อและบางเสาธง รองลงมาเป็นไม้ผล เช่น มะม่วง มะพร้าว กล้วย ปลูกทุกอ้าเภอ จ้านวน 9,835 ไร่
ส่วนพืชผัก เช่น ผักกะเฉด ข่า ตะไคร้ ปลูกมากที่สุดอ้าเภอบางบ่อและบางเสาธง มีจ้านวน 3,389 ไร่ และไม้
ดอกไม้ประดับ เช่น หมากผู้หมากเมีย หมากแดง ปลูกมากที่อ้าเภอพระประแดง จ้านวน 470 ไร่ เป็นข้อมูล
ณ ปี 2552-2553
ด้านประมง
พื้นที่ของจังหวัดสมุทรปราการเหมาะสมต่อการท้าการประมงทั้งการประมงน้้าจืดและประมงชายฝั่ง
เนื่องจากจังหวัดสมุทรปราการตั้งอยู่ปากแม่น้้าเจ้าพระยา และมีบริเวณชายฝั่งยาวถึง 47.20 กิโลเมตรที่อุดม
สมบูรณ์ด้วยธาตุอาหาร ท้าให้ประชาชนส่วนหนึ่งยึดอาชีพการประมงเป็นอาชีพหลัก
ส้าหรับข้อมูลพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าที่ส้าคัญ มีทั้งหมด 92,555.96 ไร่ ประกอบด้วย ประมงน้้าจืด
(ปลาสลิด ปลาเบญจพรรณ) จ้านวน 58,270.16 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 62.96 ของพื้นที่เพาะเลี้ยงทั้งหมด) และ
ประมงชายฝั่ง จ้านวน 34,285.80 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 37.04ของพื้นที่เพาะเลี้ยงทั้งหมด) (ข้อมูล ณ ปี 2553)
ด้านปศุสัตว์
การเลี้ยงสัตว์ของจังหวัดสมุทรปราการมีไม่มากนัก เนื่องจากสภาพแวดล้อมของพื้นที่ โดยทั่วไปไม่
เหมาะสม สัตว์ใหญ่ที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ โคเนื้อ จ้านวน 1,261 ตัว แพะ จ้านวน 1,201 ตัว ส้าหรับสัตว์