Page 131 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 131

สาขาการผลิต           ปี 2549    ปี 2550     ปี 2551      ปี 2552    ปี 2553 p1

                  12. การบริการราชการ และการ      2,788      3,001       3,329        3,419       5,422
                  ป้องกันประเทศฯ

                  13. การศึกษา                    3,368      3,753       3,904        3,961       4,400

                  14. การบริการด้านสุขภาพ         3,784      3,959       4,201        4,965       4,854
                  แรงงาน และสังคมสงเคราะห์

                  15. การให้บริการชุมชน สังคม     2,483      2,528       2,545        2,606       1,991

                  และบริการส่วนบุคคลอื่น ๆ
                  16. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล   186       190         195         198          193

                  ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด        512,036  616,778        642,434     607,628      698,022

                  มูลค่าผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อคน (บาท)  409,286  485,598    499,254     468,094      528,899
                  ประชากร (1,000 คน)              1,251      1,270       1,287        1,298       1,320

                  ที่มา : ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


                  ภาคอุตสาหกรรม
                         จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดที่มีความได้เปรียบทางด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ใกล้ศูนย์กลางของ

                  ประเทศและยังเป็นแหล่งวัตถุดิบที่น้าเข้าจากต่างประเทศ เป็นคลังสินค้าที่ส้าคัญ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลาง

                  การขนส่งทั้งทางบก ทางน้้า และทางอากาศ ท้าให้การขนส่งวัตถุดิบและสินค้าจากโรงงานอุตสาหกรรมใน
                  อ้าเภอต่าง ๆ มีความสะดวกและเสียค่าใช้จ่ายต่้า จึงมีส่วนสนับสนุนให้นักลงทุนเข้ามาประกอบกิจการตั้ง

                  โรงงานอุตสาหกรรมเป็นจ้านวนมาก โดยจังหวัดสมุทรปราการในปัจจุบันมีโรงงานอุตสาหกรรมกว่า 6,576

                  โรงงาน นับได้ว่าเป็นจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจ้านวนมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศ โดยมีอุตสาหกรรม
                  การผลิตที่ส้าคัญ ได้แก่ ยานยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ เครื่องจักร/อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์โลหะ ไฟฟ้า/ชิ้นส่วน

                  อิเล็กทรอนิกส์ สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูป เคมีภัณฑ์/พลาสติก เป็นต้น
                         การลงทุนภาคอุตสาหกรรม ขณะนี้จังหวัดสมุทรปราการมีการก้าหนดเขตผังเมืองรวมครอบคลุมพื้นที่

                  ทั้งจังหวัด  จึงมีข้อจ้ากัดในการขออนุญาตตั้งและขยายโรงงานได้เฉพาะบางพื้นที่และบางชนิดประเภทของ

                  โรงงาน  ดังนั้น ภาวะในเรื่องการลงทุนในปัจจุบันจึงชะลอตัว แต่การมีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิจะช่วยท้าให้
                  เกิดความเจริญก้าวหน้าซึ่งในอนาคตสิ่งที่ต้องท้าคือแก้ไขปัญหาด้านการจราจรที่ยังไม่คล่องตัวในช่วงเวลา

                  เร่งด่วน อันเป็นปัญหาเดียวกับกรุงเทพมหานคร รวมทั้งต้องเร่งรัดพัฒนาการสื่อสารโทรคมนาคม
                  สาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อความต้องการและสามารถรองรับความ

                  เจริญก้าวหน้าที่จะตามมาพร้อมกับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136