Page 133 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 133

ปีกที่มีการเลี้ยงมากที่สุด คือ ไก่พื้นบ้าน จ้านวน 44,775 ตัว รองลงมาคือ เป็ดไข่ จ้านวน 18,908 ตัว เป็ดเนื้อ

                  จ้านวน 8,885 ตัว  และไก่เนื้อ จ้านวน 7,050 ตัว (ข้อมูล ณ วันที่ 31ธันวาคม 2553)


                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                         สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย สภาพ สมรรถนะ โครงสร้างการใช้

                  และคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ดิน น้้า ป่าไม้ แร่ธาตุ อากาศ แหล่งท่องเที่ยว)เนื่องจาก
                  จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานคร เป็นจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของ

                  โรงงานอุตสาหกรรมจ้านวนมาก ซึ่งข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2550 พบว่าจังหวัดสมุทรปราการมีโรงงาน

                  อุตสาหกรรม 6,136 แห่ง มีประชากรอพยพมาพักอาศัยอยู่ในจังหวัดสมุทรปราการ ทั้งที่ย้ายทะเบียนบ้านและ
                  ไม่ย้ายทะเบียนบ้าน (ประชากรแฝง) เกือบทุกจังหวัดทั่วประเทศ กอปรกับเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของ

                  จังหวัดสมุทรปราการได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว รวมทั้งยังเป็นที่ตั้งของสนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งล้วนส่งผลกระทบ

                  ต่อสภาพแวดล้อมของจังหวัดสมุทรปราการในวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่าง
                  หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส้าคัญของจังหวัดสมุทรปราการสามารถสามารถแยกได้ดังนี้



                         น้ า
                              มลพิษทางน้้าของจังหวัดสมุทรปราการ มีสาเหตุที่ส้าคัญคือโรงงานอุตสาหกรรมและชุมชนเมือง

                  ปล่อยน้้าทิ้งสู่แหล่งธรรมชาติ รวมทั้งสารเคมีเป็นพิษต่างๆ ท้าให้แหล่งน้้าเสียแต่อย่างไรก็ตาม เพื่อป้องกัน
                  ปัญหาดังกล่าว คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จึงได้ออกประกาศฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2537) ออกตามความใน

                  พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ก้าหนดให้ท้องที่เขตจังหวัด

                  นโยบายโครงการก่อสร้างบ่อบ้าบัดน้้าเสียที่คลองด่าน แต่อย่างไรก็ดี ขณะนี้ยังไม่สามารถด้าเนินการได้ จาก
                  สภาพการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้คุณภาพน้้าของจังหวัดสมุทรปราการ จัดอยู่ในระดับต่้าคือระดับ 4-5 ซึ่งไม่

                  สามารถน้าไปใช้การอุปโภคบริโภคได้


                         ดิน

                              ลักษณะทางธรณีวิทยาของจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าตั้งอยู่บนบริเวณ ที่ราบลุ่มตอนกลาง หรือ
                  บางครั้งเรียกว่าบริเวณดินตอนสามเหลี่ยมปากแม่น้้า เกิดจากการทับถมของตะกอนหนา ระดับความสูงของ

                  พื้นที่ประมาณ 00.5-1.5 เมตร และมีความลาดเอียงโดยเฉลี่ยต่้ากว่า 1% ลักษณะของชั้นดินในช่วงบนความลึก

                  ประมาณ 0-1.5 เมตร จะเป็นดินเหนียวอ่อนตัวมีความสามารถในการอุ้มน้้า รับน้้าหนักแรงต่้ามาก ประมาณ
                  0.5-3 ตัน ต่อตารางเมตร เมื่อรับน้้าหนักจะยุบตัวได้ง่าย ถัดลงไปจะเป็นพื้นดินเหนียวซึ่งมีการรับน้้าหนัก

                  เพิ่มขึ้นเป็นล้าดับ จนถึงชั้นทรายชั้นแรกที่มีความลึกประมาณ 22-25 เมตร นอกจากนั้นจังหวัดสมุทรปราการ

                  เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่บางส่วนติดชายฝั่งทะเลสภาพแวดล้อมด้านป่าชายเลนเสี่อมโทรมไป ส่งผลกระทบให้เกิด
                  การกัดเซาะดินบริเวณชายฝั่งทะเล โดยเฉพาะพื้นที่ที่อยู่ติดชายฝั่งทะเล เช่น อ้าเภอเมือง อ้าเภอพระสมุทร

                  เจดีย์ ส่งผลให้แต่ละปีมีดินถูกกัดเซาะหายไปปีละประมาณ 50เมตร
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138