Page 129 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 129
ราษฎร์ต่้ากว่ากลุ่มอื่น ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2554 ประชากรตามทะเบียนราษฎร์ทั้งสิ้น 1,192,033 คน
แยกเป็นชาย 574,770 คน หญิง 617,263 คน จ้านวนประชากรแฝงประมาณเกือบ 1 เท่าของประชากรตาม
ทะเบียนราษฎร์
ตารางที่ 2 แสดงจ านวนประชากรแยกตามอ าเภอ
อ าเภอ ชาย หญิง รวม จ านวนบ้าน
เมืองสมุทรปราการ 240,923 261,896 502,819 207,732
พระประแดง 99,278 105,014 204,292 82,770
บางพลี 96,082 105,382 201,464 107,896
พระสมุทรเจดีย์ 56,680 59,104 115,784 46,713
บางบ่อ 47,854 50,014 97,868 33,652
บางเสาธง 33,953 33,853 69,806 44,645
รวม 574,770 617,263 1,192,033 523,408
ที่มา: ที่ท้าการปกครองจังหวัดสมุทรปราการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2554
โครงสร้างประชากร
จากการวิเคราะห์โครงสร้างประชากร จ้าแนกตามกลุ่มอายุตามกลุ่มประชากร พบว่า
จังหวัดสมุทรปราการมีโครงสร้างประชากร ที่ส้าคัญดังนี้
ตารางที่ 3 แสดงโครงสร้างประชากร
กลุ่มอายุ/กลุ่มประชากร ร้อยละของประชากรตามกลุ่มประชากร
อายุ ต่้ากว่า 5 ปี (วัยเด็ก) 6.26
อายุ 5 – 14 ปี (วัยเรียน) 14.41
อายุ 15 – 59 ปี (วัยแรงงาน) 71.90
อายุ 60 ปี ขึ้นไป (วัยสูงอายุ) 7.45
จะเห็นได้ว่ากลุ่มประชากรที่มีจ้านวนมากที่สุด คือวัยแรงงาน ซึ่งเป็นวัยที่สร้างรายได้ให้กับครอบครัว
ส้าหรับแนวโน้มโครงสร้างตามกลุ่มอายุโดยรวมของประเทศ และจังหวัดสมุทรปราการ พบว่ากลุ่มอายุที่
แนวโน้มโครงสร้างประชากรสูงขึ้นทุกปี คือ ช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป