Page 54 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 54
อัตราขยายตัว ณ ราคาคงที่ โครงสร้าง ณ ราคาประจ าปี
สาขาการผลิต
2554 2555 2554 2555
การบริการด้านสุขภาพ -2.0 8.3 3.6 3.88
การให้บริการด้านชุมชนฯ 7.2 67.3 0.6 1.20
ลูกจ้างในครัวเรือน 71.01 38.3 0.12 0.3
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด -8.1 5.0 100.0 100.0
(GPP)
การผลิตภาคเกษตร หดตัวร้อยละ 0.3 จาที่ขยายตัวร้อยละ 5.0 ในปีที่ผ่านมา โดยสาขาประมงหดตัว
ร้อยละ 17.0 จากที่ขยายตัวร้อยละ 60.8 ในปีที่ผ่านมา ในขณะที่สาขาเกษตรกรรมฯ ขยายตัวต่อเองร้อยละ
1.8 จากร้อยละ 0.6 ในปีที่ผ่านมา
การผลิตภาคนอกเกษตร ขยายตัวร้อยละ 6.7 จากที่หดตัวร้อยละ 11.6 ในปีที่ผ่านมา โดยเป็นผลจาก
การขยายตัวของสาขาหลัก ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการขายส่ง การขายปลีกฯ สาขาการให้บริการ
ด้านชุมชนฯ สาขาการศึกษาสาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ฯ สาขาบริการด้านสุขภาพฯ สาขาลูกจ้างใน
ครัวเรือน และสาขาบริหารราชการฯ ขยายตัวร้อยละ 23.4 4.8 67.3 2.6 3.8 8.3 138.3 และ1.2 ตามล้าดับ
สาขาการผลิตที่ชะลอตัวลง ได้แก่ สาขาตัวกลางมาการเงินฯ ชะลอตัวลงร้อยละ 11.6 จากการ
ขยายตัวร้อยละ 13.9 ในปีที่ผ่านมา และสาขาการขนส่งฯ ชะลอตัวลงร้อยละ 1.3 จากการขยายตัวร้อยละ
9.0 ในปีที่ผ่านมา
สาขาการผลิตที่หดตัว ได้แก่ สาขาเหมืองแร่ฯ สาขาโรงแรมฯ สาขาไฟฟ้าฯ สาขาก่อสร้าง หดตัวร้อยละ
20.8 9.1 และ 26.0 ตามล้าดับ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP per capita)
ในปี 2555 ค่าเฉลี่ยต่อหัวของประชากรมีค่าเท่ากับ 71.394 บาทเพิ่มขึ้นจาก 69,250 บาท หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
ตารางที่ 4 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจ าปี
รายการ 2553 2554 2555
ภาคเกษตร(ล้านบาท) 3,596 5,102 5,105
ภาคนอกเกษตร(ล้านบาท) 13,348 12,891 13,587
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(Gpp) (ล้านบาท) 16,944 17,993 18,691
GPP ต่อหัว(บาท) 65,705 69,250 1,394
จ้านวนประชากร (พันคน) 258 260 262