Page 57 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 57

ตารางที่ 7  เครื่องชี้ภาวการณ์ผลิตหมวดปศุสัตว์

                                                   ปริมาณผลผลิต(ล้านฟอง)            อัตราขยายตัว(ร้อยละ)
                            รายการ
                                              2553          2554         2555        2554       2555

                       ไข่ไก่                         953   930           984         -2.4       5.8

                  ที่มา:ส้านักงานปศุสัตว์จังหวัดนครนายก

                         บริการทางการเกษตร  มูลค่าเพิ่ม ณ ราคา ประจ้าปีมีมูลค่าเท่ากับ 612 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 507

                  ล้านบาทในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ขยายตัวร้อยละ 1.2 ซึ่งเป็นอัตราที่

                  ชะลอตัวจากร้อยละ 2.6 ในปีที่ผ่านมา เนื่องจากเกษตรกรมีการซื้อรถไถขนาดเล็กเพื่อใช้เตรียมดินด้วยตนเอง
                  ท้าให้การใช้บริการเตรียมดินหดตัวลง ในขณะที่พื้นที่ใช้บริการเก็บเกี่ยวเพิ่มสูงขึ้น ตามพื้นที่เพาะปลูกข้าว

                  ทั้งหมด ส่งผลให้กิจกรรมหมวดบริการทางการเกษตรในภาพรวมชะลอตัวเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา


                  ตารางที่ 8  เครื่องชี้ภาวการณ์ผลิตหมวดบริการทางการเกษตร

                                                          พื้นที่ (ไร่)             อัตราขยายตัว(ร้อยละ)
                          รายการ
                                              2553         2554          2555        2554       2555
                   พื้นที่ใช้บริการเตรียมดิน                       535,383   548,176      429,540       2.4        -21.6

                   พื้นที่ใช้บริการเก็บเกี่ยว   535,126      547,822      715,310       2.4        30.6

                  ที่มา: ส้านักงานเกษตรจังหวัดนครนายก

                         การป่าไม้  มูลค่าเพิ่ม  ณ  ราคาประจ้าปีมีมูลค่าเท่ากับ 3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 2 ล้านบาท

                  ในปีที่ผ่านมาส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัว ร้อยละ 24.4 จากการหดตัวร้อยละ

                  31.5  ในปีที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการใช้ไม้ในจังหวัดเพื่อการสร้างและซ่อมแซมบ้านเพิ่มขึ้น


                  สาขาประมง

                  ภาพรวม
                         1) มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี สาขาประมงของจังหวัดนครนายก ในปี 2555 มีมูลค่าเท่ากับ

                  405 ล้านบาท ลดลงจาก 450 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา เท่ากับ 45 ล้านบาท
                         2) อัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ในปี 2555 หดตัวร้อยละ 17.0 จากการ ขยายตัว

                  ร้อยละ 60.8 ในปีที่ผ่านมา เนื่องจากการหดตัวของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืด และการชะลอตัวของการจับ

                  สัตว์น้้าจืดจากแหล่งน้้าธรรมชาติ และการท้าฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล เป็นส้าคัญ
                         3) โครงสร้างรายได้จากการผลิต สาขาประมงในปี 2555 พิจารณาจากสัดส่วน มูลค่าเพิ่ม ณ ราคา

                  ประจ้าปีของจังหวัดนครนายก ประกอบด้วย การท้าฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล ร้อยทะเล 63.2 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืด
                  ร้อยละ 24.7 และการจับสัตว์น้้าจืด จากแหล่งน้้าธรรมชาติ ร้อยละ 12.1
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62