Page 58 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 58
ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สาขาประมง ในปี 2555 เท่ากับ 115.3 เพิ่มขึ้นจาก 106.5
ในปี 2554 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.3 เป็นผล มาจากการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาผลผลิตที่ส้าคัญทุกชนิด
เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
ภาวะการผลิตกิจกรรมที่ส าคัญ
การท าฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี มีมูลค่าเท่ากับ 256 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก144
ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงร้อยละ
38.6 จากร้อยละ 40.4 ในปีที่ผ่านมา เนื่องจากแรงจูงใจของราคาผลผลิตกุ้งที่สูงขึ้น ท้าให้เกษตรกรหันมาเลี้ยง
กุ้งทะเลสูงกว่าการขยายตัวด้านราคา
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืด มูลค่าเพิ่ม ณ ราคา ประจ้าปี มีมูลค่าเท่ากับ 100 ล้านบาท ลดลงจาก 282
ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัว ร้อยละ 68.5
จากการขยายตัว ร้อยละ 71.9 ในปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
การจับสัตว์น้ าจืดจากแหล่งน้ าธรรมชาติ มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี มีมูลค่าเท่ากับ 49 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจาก 24 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 96.6
ชะลอลงจากร้อยละ 168.4 ในปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากส้านักงานประมงจังหวัดนครนายกได้จัดท้าแผนและ
ปล่อยพันธุ์สัตว์น้้าลงสู้แหล่งน้้าธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง อกจากนี้ช่วงปลายปี 2551 เกิดอุทกภัยในจังหวัด
นครนายก ท้าให้น้้าท่วมบ่อเลี้ยงปลา ของเกษตรกร ปลาหลุดสู่แหล่งน้้าธรรมชาติส่งผลให้ ปริมาณผลผลิตของ
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดในปี 2552ลดลงในขณะที่การจับสัตว์น้้าจืดจากแหล่งน้้าธรรมชาติมีปริมาณผลผลิต
เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
ตารางที่ 10 เครื่องชี้ภาวการณ์ผลิตสาขาประมง
ปริมาณผลผลิต (ตัน) อัตราขยายตัว(ร้อยละ)
รายการ
2553 2554 2555 2554 2555
การท้าฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล 3,876 5,440 7,538 40.4 38.6
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืด 18,325 31,496 9,923 71.9 -68.5
การจับสัตว์น้้าจืดจาก 371 995 1,957 168.4 96.6
แหล่งน้้าธรรมชาติ
ที่มา:ส้านักงานประมงจังหวัดนครนายก