Page 60 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 60

3) โครงสร้างรายได้จากการผลิต สาขาการท้าเหมืองแร่และเหมืองหินในปี 2555 พิจารณาจาก

                  สัดส่วนมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปีของจังหวัดนครนายก ประกอบด้วย การขุดดินเหนียว ร้อยละ 81.4
                  การขุดกรวดและทราย ร้อยละ 18.2 และการท้าเหมืองหิน ร้อยละ 0.4


                       ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สาขาการท้าเหมืองแร่และเหมืองหิน ในปี 2555 เท่ากับ 91.0
                  ลดลงจาก 105.6 ในปี 2554 หรือลดลง ร้อยละ 13.8 เป็นผลมาจากการลดลงของดัชนีราคา การขุดกรวดและ

                  ทราย


                  ภาวการณ์ผลิตกิจกรรมที่ส าคัญ
                        การท้าเหมืองหิน มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี มีมูลค่าเท่ากับ 0.07 ล้านบาท ลดลงจาก 0.09 ล้านบาท

                  ในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัว ของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัวร้อยละ 12.5 ปรับตัวดีขึ้นจากการ

                  หดตัวร้อยละ 20.0 ในปีที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของตลาดที่ลดลง
                        การขุดกรวด และทราย มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี เท่ากับ 3 ล้านบาท ลดลงจาก 21 ล้านบาท

                  ในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัวร้อยละ 48.2 จากการขยายตัว ร้อยละ

                  83.1 ในปีที่ผ่านมาเป็นผลมาจากผู้ประกอบการหยุดกิจการเนื่องจากประสบปัญหาขาดทุน จึงส่งผลให้ปริมาณ
                  ผลผลิตลดลง



                  ตารางที่ 12 เครื่องชี้ภาวการณ์ผลิตสาขาการท าเหมืองแร่และเหมืองหิน
                                                       ปริมาณผลผลิต (ตัน)             อัตราขยายตัว(ร้อยละ)
                            รายการ
                                                2553         2554          2555        2554       2555

                     การท้าเหมืองหิน             50            40           35         -20.0      -12.5
                     การขุดกรวด ทราย (ตัน)     96,000       171,405       88,842        83.1      -48.2

                  ที่มา: ส้านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครนายก


                  สาขาอุตสาหกรรม (การผลิต)
                  ภาพรวม

                         1) มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ าปี สาขาอุตสาหกรรม๖การผลิต) ของจังหวัดนครนายก ในปี 2555

                  มีมูลค่าเท่ากับ 3,855 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 3,260 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมาเท่ากับ 595 ล้านบาท


                         2) อัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ในปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 23.4 จากการหดตัว

                  ร้อยละ 40.9 ในปีที่ผ่านมา เนื่องจากการขยายตัวของหมวดการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มจาก
                  กิจกรรมการฆ่าไก่ และการผลิตเนื้อสัตว์อื่นๆ หมวดการผลิตไม้ ผลิตภัณฑ์จากไม้ฯ และหมวดการผลิตสิ่งทอสิ่ง

                  ถักเป็นส้าคัญ
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65