Page 64 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 64
ตารางที่ 17 มูลค่าเพิ่มสาขาการไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา
อัตราการ
รายละเอียดกิจกรรมการผลิต มูลค่าเพิ่ม (ล้านบาท) สัดส่วน (ร้อยละ)
ขยายตัว(ร้อยละ)
2553r 2554r 2555p 2553r 2554r 2555p 2554r 2555p
มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี 481 621 508 100.0 100.0 100.0 29.0 -18.3
หมวดไฟฟ้า 435 567 445 90.3 91.3 87.6 30.4 -21.6
¾ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง 138 118 176 28.6 19.0 34.6 -14.3 48.8
ประเทศไทย(กฟผ)
¾ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ) 297 449 269 61.7 72.3 53.0 51.1 -40.1
หมวดประปา 46 54 63 9.7 8.7 12.4 16.5 16.3
¾ การประปาส่วนภูมิภาค 40 45 53 8.3 7.3 10.4 13.6 16.0
(กปภ)
¾ การประปาหมู่บ้าน 40 9 10 1.4 1.4 2.0 33.7 17.8
มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ 6 736 665 100.0 100.0 100.0 52.9 -9.6
¾ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง 481 687 613 90.3 93.4 92.2 58.1 -10.7
ประเทศไทย(กฟผ)
¾ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(กฟภ) 435 198 197 28.6 26.9 29.7 43.6 -0.2
หมวดประปา 138 489 416 61.7 66.5 62.5 64.8 -15.0
¾ การประปาส่วนภูมิภาค 297 49 52 9.7 6.6 7.8 4.7 5.7
(กปภ)
¾ การประปาหมู่บ้าน 46 41 44 8.3 5.5 6.5 2.0 6.3
ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 40 8 8 1.4 1.1 1.3 21.2 2.7
สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา 100.0 84.4 76.3 - - - -15.6 -9.6
หมายเหตุ r หมายถึง การปรับปรุงข้อมูลย้อนหลัง
P หมายถึง ค่ารายปีที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น
ภาพรวมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ าปี สาขาก่อสร้างของจังหวัดนครนายก ในปี 2555 มีมูลค่าเท่ากับ 303 ล้านบาท
ลดลงจาก 378 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมาเท่ากับ 75 ล้านบาท
1) มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ าปี สาขาก่อสร้างของจังหวัดนครนายก ในปี 2555 มีมูลค่าเท่ากับ 303
ล้านบาทลดลงจาก 378 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมาเท่ากับ 75 ล้านบาท
2) อัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัวอย่างต่อเนื่องร้อยละ 26.1 จากการหดตัว
ร้อยละ 16.2 ในปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากการหดตัวของการก่อสร้างภาคเอกชนทุกประเภทซึ่งหดตัวถึงร้อยละ
70.5 ในขณะที่การก่อสร้างภาครัฐตัวร้อยละ 19.6 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา