Page 65 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 65
3) โครงสร้างรายได้จากการผลิต สาขาก่อสร้างในปี 2555 พิจารณาสัดส่วน มูลค่าเพิ่ม ณ ราคา
ประจ้าปีของจังหวัดนครนายก ประกอบด้วย การก่อสร้างภาครัฐร้อยละ 80.6 และการก่อสร้างภาคเอกชน
ร้อยละ 19.4
ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สาขาก่อสร้าง ในปี 2555 เท่ากับ 107.0 เพิ่มขึ้นจาก 98.6 ในปี
2554 หรือเพิ่ม ร้อยละ 8.5 เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาวัสดุก่อสร้าง เป็นส้าคัญ
ภาวการณ์ผลิตกิจกรรมที่ส าคัญ
การก่อสร้างภาคเอกชน มูลค่า ณ ราคาประจ้าปีมีมูลค่าเท่ากับ 59 ล้านบาท ลดลง 183 ล้านบาท
ในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัวร้อยละ 70.5 เป็นการหดตัวอย่าง
ต่อเนื่องจากการหดตัวร้อยละ 21.3 ในปีที่ผ่านมา โดยมีกิจกรรมที่ส้าคัญ ได้แก่
การก่อสร้างที่อยู่อาศัย มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี มีมูลค่าเท่ากับ 49 ล้านบาท ลดลงจาก 131 ล้านบาท
ในปีที่ผ่านมา หรือหดตัวร้อยละ 66.4
การก่อสร้างอาคารพาณิชย์ มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี มีมูลค่าเท่ากับ 8 ล้านบาท ลดลงจาก 42
ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา หรือหดตัวร้อยละ 81.8 เป็นผลมาจากความไม่มั่นใจต่อภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ
และปัญหาทางการเมือง ท้าให้ภาคเอกชนชะลอการลงทุน ส่งผลให้กิจกรรมการก่อร้างภาคเอกชนลดลงเป็น
อย่างมากเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
ตารางที่ 18 เครื่องชี้ภาวการณ์ผลิตหมวดการก่อสร้างภาคเอกชน
จ านวน อัตราขยายตัว(ร้อยละ)
รายการ
2553 2554 2555 2554 2555
พื้นที่ก่อสร้างที่อยู่อาศัย 163,519 63,711 29,461 -61.0 -53.7
ที่มา :ส้านักงานสถิติจังหวัดนครนายก
การก่อสร้างภาครัฐ มีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปีมีมูลค่าเท่ากับ 244 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 195
ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ขยายตัวร้อยละ 19.6 จากการหด
ตัวร้อยละ 10.4 ในปีที่ผ่านมา โดยมีกิจกรรมที่ส้าคัญ ได้แก่
การก่อสร้างอาคารส านักงาน มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี มีมูลค่าเท่ากับ 27 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก
2 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา หรือขยายตัว(ร้อยละ) 1,606.9
การก่อสร้างถนน มีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี มีมูลค่าเท่ากับ 160 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 48 ล้าน
บาทในปีที่ผ่านมา หรือขยายตัวร้อยละ 214.8 เนื่องจากหน่วยงานภาครัฐได้รับกาจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
งบลงทุนในการก่อสร้างอาคารส้านักงานและก่อสร้างถนนเพิ่มมากขึ้น