Page 67 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 67

การขายปลีกยานยนต์  ขยายตัวร้อยละ 14.3 เป็นผลมาจากประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากผลผลิตทาง

                  การเกษตร ประกอบการแรงจูงใจจากผู้ประกอบกับแรงจูงใจจากผู้ประกอบการขายยานยนต์ ที่มีการจัด
                  กิจกรรมการส่งเสริมการขาย ได้แก่ การให้อัตราดอกเบี้ยต่้า สิทธิประโยชน์ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น

                  ประกันอุบัติเหตุ พ.ร.บ. วงเงินเติมน้้ามันฟรี จึงส่งผลให้มี ยอดรายได้จากการจ้าหน่ายรถยนต์เพิ่มสูงขึ้น
                         การซ่อมแซม มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปีมีมูลค่าเท่ากับ 326 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 320 ล้านบาท

                  ในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัว ร้อยละ 6.7 ปรับตัวดีขึ้นจากการหดตัว
                  ร้อยละ 12.8 ในปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากการหดตัวของกิจกรรมการซ่อมยานยนต์ หดตัวร้อยละ 10.1

                  ในขณะที่การซ่อมแซมจักรยานยนต์ขยายตัวร้อยละ 9.8

                         การขายส่ง  มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปีเท่ากับ 45 ล้านบาท ลดลงจาก 80 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา
                  ส่วนอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่หดตัวร้อยละ 0.9 ปรับตัวดีขึ้นจากการหดตัว ร้อยละ 10.0

                  ในปีที่ผ่านมา จากการหดตัวของกิจการขายส่งน้้าตาลช็อกโกแลตและขนมเคลือบ และการขายส่งเครื่องดื่มที่มี

                  แอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ ในขณะที่การขายส่งประเภทอื่นขยายตัว กิจกรรมรายการส้าคัญ ได้แก่
                         การขายส่งน้ าตาล ช็อกโกแลตและขนมเคลือบและมีไส้เป็นน้ าตาล หดตัวร้อยละ 21.9 เนื่องจาก

                  ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวส่งผลให้ประชาชนปรับลดพฤติกรรมการบริโภคสินค้าที่มีน้้าตาลเป็นส่วนผสมทั้ง

                  อาหารและเครื่องดื่มลดลง
                         การขายส่งเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ หดตัวร้อยละ 0.7 เป็นผลมาจากภาวะ

                  เศรษฐกิจที่ชะลอตัว ประชาชนมีความระมัดระวังการใช้จ่ายโดยลดการซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยที่ไม่จ้าเป็น ประกอบ
                  กับภาครัฐมีมาตรการงด จ้าหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงเทศกาลวันส้าคัญทางศาสนา เพื่อลดปัญหาเหตุ

                  จราจร


                  ตารางที่ 20 เครื่องชี้ภาวการณ์ผลิตหมวดการขายปลีก

                                                        จ านวนเงิน(ล้านบาท)          อัตราขยายตัว(ร้อยละ)
                                 รายการ
                                                     2553      2554      2555      2554        2555
                        รายได้ของผู้ประกอบการ  1,904           1,974     1,953      3.7         -1.1

                        ทั้งหมด ในจังหวัด

                  ที่มา: ส้านักงานคลังจังหวัดนครนายก

                  สาขาโรงแรมและภัตตาคาร

                  ภาพรวม

                        1) มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ าปี สาขาโรงแรมและภัตตาคารของจังหวัดนครนายก ในปี 2555 มีมูลค่า

                  เท่ากับ 270 ล้านบาท ลดลงจาก 323 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมาเท่ากับ 35 ล้านบาท
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72