Page 66 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 66

53



               ในกรณีที ผู้อุทธรณ์เห็นว่าคดีต้องห้ามอุทธรณ์  ผู้อุทธรณ์อาจยื นคําขอโดยทําเป็นคําร้องเพื อขออนุญาตต่อ


               ศาลอุทธรณ์แผนกคดีผู้บริโภคหรือศาลอุทธรณ์ภาคแผนกคดีผู้บริโภคไปพร้อมกับอุทธรณ์ก็ได้



                             ในกรณีที ศาลชั นต้นสั งไม่รับอุทธรณ์เพราะเหตุต้องห้ามอุทธรณ์  ผู้อุทธรณ์อาจยื นคําขอโดย

               ทําเป็นคําร้องเพื อขออนุญาตอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์แผนกคดีผู้บริโภคหรือศาลอุทธรณ์ภาคแผนกคดี


               ผู้บริโภคภายในกําหนด 15 วัน  นับแต่วันที ศาลชั นต้นมีคําสั งก็ได้  ถ้าคู่ความยื นคําขอดังกล่าวแล้ว


               จะอุทธรณ์คําสั งไม่รับอุทธรณ์ไม่ได้


                             กรณีที ศาลอุทธรณ์แผนกคดีผู้บริโภคหรือศาลอุทธรณ์ภาคแผนกคดีผู้บริโภคมีคําพิพากษา


               หรือคําสั งแล้ว  คู่ความอาจยื นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง (ในคดีที มีทุนทรัพย์ที พิพาทในชั นฎีกาเกิน 200,000

               บาท)  และในปัญหาข้อกฎหมายได้ภายในกําหนด 1 เดือน  นับแต่วันที ได้อ่านคําพิพากษาหรือคําสั งของ


               ศาลอุทธรณ์แผนกคดีผู้บริโภค  หรือศาลอุทธรณ์ภาคแผนกคดีผู้บริโภค


                             หมายเหตุ  การยื นอุทธรณ์หรือฎีกาในคดีผู้บริโภค  ผู้บริโภคต้องดําเนินการยื นเอง


               กฎหมายไม่ได้กําหนดให้  เจ้าพนักงานคดีดําเนินการให้เหมือนกับการฟ้องคดีต่อศาลชั นต้น



               คดีที ผู้บริโภคชนะคดีจะดําเนินการบังคับคดีอย่างไร

                             ในการบังคับคดีผู้บริโภค  เจ้าหนี ตามคําพิพากษาอาจมีคําขอฝ่ายเดียวต่อศาลเพื อให้ออก


               หมายบังคับคดีไปทันทีโดยไม่จําต้องออกคําบังคับก่อนก็ได้


                             ในกรณีที ศาลได้มีคําพิพากษาถึงที สุดในคดีผู้บริโภคแล้ว  หากความปรากฏแก่ศาลว่ามี

               ข้อขัดข้องทําให้ไม่อาจดําเนินการบังคับคดีตามคําพิพากษาได้  หรือมีความจําเป็นต้องกําหนดวิธีการอย่าง


               หนึ งอย่างใดเพื อบังคับให้เป็นไปตามคําพิพากษา  กฎหมายกําหนดให้ศาลมีอํานาจออกคําสั งเพื อแก้ไข


               ข้อขัดข้องดังกล่าวตามความจําเป็นและสมควรแก่กรณีเพื อประโยชน์แห่งความยุติธรรมได้
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71