Page 62 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 62

49



                             2.  กรณีผู้บริโภคหรือผู้เสียหายยื นคําฟ้องต่อศาล  ให้ยื นคําฟ้องต่อศาลที จําเลยมีภูมิลําเนา


                                 หรือต่อศาลที มูลคดีเกิดในเขตอํานาจศาล  แต่ผู้ประกอบธุรกิจจะฟ้องคดีผู้บริโภคได้


                                 เฉพาะเขตศาลที ผู้บริโภคมีภูมิลําเนาอยู่เท่านั น

                             3.  ให้ยื นคําฟ้องต่อศาลที แผนกคดีผู้บริโภค ภายในอายุความ   ปี นับแต่วันที รู้ถึง


                                 ความเสียหาย  หากเลยกําหนดนี ถือว่าขาดอายุความ


                             4.  คดีผู้บริโภคที ราคาทรัพย์สินที พิพาทหรือจํานวนเงินที ฟ้องเกิน  300,000 บาท


                                 ยื นคําฟ้องที ศาลจังหวัด  แต่หากไม่เกิน 300,000 บาท  ก็จะต้องยื นคําฟ้องที ศาลแขวง

                             5.  ในการฟ้องคดีผู้บริโภค  สามารถฟ้องด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้  และในทางกลับกัน


                                 หากผู้บริโภคถูกผู้ประกอบธุรกิจฟ้องเป็นคดีผู้บริโภค  ผู้บริโภคสามารถยื นคําให้การ


                                 เป็นหนังสือหรือจะให้การด้วยวาจาก็ได้

                             6.  การฟ้องคดีผู้บริโภค  ให้ได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียม (แต่ไม่รวมถึงความรับผิดในค่า

                                 ฤชาธรรมเนียมในชั นที สุด  หรือค่าธรรมเนียมอันเกิดจากการเรียกร้องค่าเสียหายเกิน


                                 สมควร)


                             7.  เพื อให้การดําเนินกระบวนพิจารณาคดีผู้บริโภคเป็นไปด้วยความสะดวก  รวดเร็วและ

                                 เที ยงธรรม  การยื นคําฟ้องด้วยวาจาให้เจ้าพนักงานคดีให้คําแนะนําและให้ความ


                                 ช่วยเหลือแก่ผู้บริโภคตามสมควรในการยื นคําฟ้อง  โดยเฉพาะการตรวจสอบสถานะ


                                 ความเป็นนิติบุคคลและภูมิลําเนาของผู้ประกอบธุรกิจ  การตรวจหาข้อมูลและ

                                 รายละเอียดต่าง ๆ ที เกี ยวข้องซึ งจําเป็นแก่การฟ้องคดี  ทั งจะเป็นผู้บันทึกคําฟ้องและ


                                 ให้โจทก์ลงลายมือชื อไว้เป็นสําคัญ  ดังนั น ผู้ฟ้องจึงสามารถยื นฟ้องได้ด้วยตนเองโดย


                                 ไม่ต้องมีทนายความก็ได้
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67