Page 65 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 65

52




               อํานาจในการฟ้องคดีแทนผู้บริโภค

                             นอกจากผู้บริโภคจะฟ้องคดีด้วยตนเองแล้ว  คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค  สมาคมหรือ


               มูลนิธิ  ที คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภครับรองตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภคยังมีอํานาจฟ้อง


               และดําเนินคดีผู้บริโภคแทนผู้บริโภคได้


                             ในกรณีที สมาคมเป็นผู้ฟ้องและมีการเรียกค่าเสียหาย  ให้เรียกค่าเสียหายแทนได้เฉพาะแต่


               ผู้บริโภคที เป็นสมาชิกของสมาคมนั นในขณะยื นฟ้องเท่านั น


                             การถอนฟ้องหรือการประนีประนอมยอมความ  จะต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือ

               จากผู้บริโภคที เกี ยวข้องมาแสดงต่อศาล  และในกรณีขอถอนฟ้องศาลจะมีคําสั งอนุญาตได้ต่อเมื อเห็นว่าการ


               ถอนฟ้องนั นไม่เป็นผลเสียต่อการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นส่วนรวมเท่านั น



               คดีผู้บริโภค  ศาลสามารถกําหนดให้คู่ความทําการไกล่เกลี ยเพื อเจรจาตกลงกันได้


                             เมื อถึงวันนัดพิจารณา  เมื อโจทก์และจําเลยมาพร้อมกันแล้ว  เจ้าพนักงานคดีหรือบุคคลที

               ศาลกําหนดหรือที คู่ความตกลงกันจะทําการไกล่เกลี ยให้คู่ความได้ตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกัน

               ก่อน  โดยในการไกล่เกลี ย  ถ้าคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ งร้องขอหรือผู้ไกล่เกลี ยเห็นสมควร  ผู้ไกล่เกลี ยจะสั งให้


               ดําเนินการเป็นการลับเฉพาะ  ต่อหน้าตัวความทุกฝ่ายหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ งก็ได้



               การอุทธรณ์  ฎีกาคดีผู้บริโภค  สามารถทําได้หรือไม่

                             เมื อศาลชั นต้นมีคําสั งหรือคําพิพากษาแล้ว  คู่ความอาจอุทธรณ์คําพิพากษาหรือคําสั งของ


               ศาลชั นต้น  ในคดีผู้บริโภคได้ภายในกําหนด 1 เดือน  นับแต่วันที ศาลอ่านคําพิพากษา  ซึ งคดีจะถือเป็นที สุด


               ในชั นอุทธรณ์


                             แต่ในคดีผู้บริโภคที ราคาทรัพย์สินหรือจํานวนทุนทรัพย์ที พิพาทกันในชั นอุทธรณ์ไม่เกิน

               50,000 บาท  หรือไม่เกินจํานวนที กําหนดในพระราชกฤษฎีกา  คู่ความจะอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70