Page 13 - คู่มือการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 13

๘


               ๒.๔ เงื่อนไขในการอนุญาตให้ใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์



                       เมื่อ “ศาลเห็นสมควร” หรือ “คู่ความร้องขอ” ศาลอาจใช้ดุลพินิจอนุญาตให้พิจารณาคดี
               ทางอิเล็กทรอนิกส์โดย

                       ๑) ต้องพิจารณาความพร้อมของคู่ความเป็นหลัก โดยค านึงถึงความสะดวกและประหยัด

                                                        ๑๘
               ส าหรับคู่ความที่ยังไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี  และ
                       ๒) ต้องไม่ท าให้สิทธิในการต่อสู้คดีของคู่ความลดน้อยลง
                                                                       ๑๙
                      ข้อสังเกต หากศาลมีค าสั่งอนุญาตให้พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่รอสอบถามผู้คัดค้าน

               หรือจ าเลย จะถือว่าการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ที่จะเกิดขึ้นท าให้สิทธิในการต่อสู้คดีของจ าเลย
               ลดน้อยลงหรือไม่ ในประเด็นนี้เห็นว่า ค าสั่งศาลที่อนุญาตให้พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ไม่ได้มีผล

               ท าให้สิทธิในการต่อสู้คดีของผู้คัดค้านหรือจ าเลยลดน้อยลงแต่ประการใด ทั้งนี้ เพราะการที่ศาลอนุญาต

               ให้พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ในวันนัด ไม่ได้เป็นการตัดสิทธิผู้คัดค้านหรือจ าเลยที่ประสงค์ยื่นค าคัดค้าน

               หรือค าให้การต่อสู้คดีในการที่จะเดินทางมาเข้าร่วมกระบวนพจารณาที่ศาลตามปกติ อย่างไรก็ตาม
                                                                        ิ
               กรณีจะแตกต่างออกไปหากในวันนัดพจารณาคดีมีผู้คัดค้านหรือจ าเลยเข้ามาเป็นคู่ความในคดีเรียบร้อยแล้ว
                                               ิ
               และผู้ร้องหรือโจทก์ยื่นค าร้องขอพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ กรณีเช่นนี้จ าเป็นต้องสอบถามความพร้อม
               ของผู้คัดค้านหรือจ าเลยด้วย โดยผู้คัดค้านหรือจ าเลยอาจคัดค้านว่าการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์

               อาจไม่เหมาะสมแก่การสืบพยานบางปากมีผลกระทบท าให้สิทธิในการต่อสู้คดีของผู้คัดค้านหรือจ าเลย

               ลดน้อยลงก็ได้


               ๒.๕ การส่งหมายเรียกและการประกาศนัดไต่สวนคดีที่นั่งพิจารณาคดีโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์



                       ๒.๕.๑ การส่งหมายเรียก  หรือประกาศนัดไต่สวน โดยวิธีการลงโฆษณาทางสื่อเทคโนโลยี
                                              ๒๐
               สารสนเทศ (e-Notice System)

                       นอกจากการส่งหมายเรียกหรือประกาศนัดไต่สวนโดยวิธีการตามปกติแล้ว ศาลอาจเห็นสมควร

               ให้ส่งหมายเรียกหรือประกาศนัดไต่สวนคดี โดยวิธีการลงโฆษณาทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ

                                    ๒๑
                                                                                                     ึ
               (e-Notice System) ได้  โดยในคดีที่ศาลอนุญาตให้ใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น ศาลพงระบุ
               ในหมายเรียกหรือประกาศนัดไต่สวนว่า ศาลอนุญาตให้ใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ส าหรับคดีนั้น



                       ๑๘  ข้อก าหนดของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๔

                       ๑๙  ข้อก าหนดของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๓
                      ๒๐  หมายถึง “หมายเรียก” ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๗ หรือมาตรา ๑๙๓
                       ๒๑  ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๗๙ ซึ่งมีหลักเกณฑ์และวิธีการตามค าแนะน าของประธานศาลฎีกา ว่าด้วย
               การส่ง เอกสาร และการประกาศนัดไต่สวนโดยวิธีลงโฆษณาทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. ๒๕๖๑ และประกาศส านักงานศาลยุติธรรม
               เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการส่งเอกสารและการประกาศนัดไต่สวนโดยวิธีลงโฆษณาทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ลงวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18