Page 8 - คู่มือการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 8
๓
๕
โดยถือว่าคู่ความได้มาด าเนินกระบวนพิจารณาที่ศาลแล้ว ดังนั้น หากคู่ความประพฤติตนไม่เรียบร้อย
ในระหว่างพิจารณาทางออนไลน์จึงอาจเป็นความผิดฐานละเมิดอ านาจศาลได้
๑.๕ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
การพิจารณาคดีของศาลจ าเป็นต้องเกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ท าให้ระบุตัวบุคคลได้ เช่น ชื่อ ชื่อสกุล
ที่อยู่ เลขบัตรประจ าตัวประชาชน หมายเลขโทรศัพท์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ประวัติอาชญากรรม เป็นต้น
ซึ่งข้อมูลดังกล่าวอยู่ภายใต้การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
่
มาตรา ๕๔ มาแต่เดิม และถือว่าเป็นข้อมูลส่วนบุคคล ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
๖
๗
พ.ศ. ๒๕๖๒ แม้ตามกฎหมายดังกล่าวจะยกเว้นไม่น ามาบังคับใช้กับการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล
แต่ถ้าไม่ใช่การด าเนินการที่เกี่ยวกับการพิจารณาคดีของศาล ถึงแม้เป็นข้อมูลในคดีก็อยู่ภายใต้บังคับของ
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งก าหนดให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับ
๘
การยกเว้นยังคงต้องจัดให้มีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ดังนั้น ศาลและส านักงานศาลยุติธรรมในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจึงมีหน้าที่ในการรักษาความ
มั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นคู่ความในคดีให้เป็นไปตามมาตรฐานตามกฎหมายดังกล่าว
โดยการปฏิบัติตามแนวทางและข้อพึงปฏิบัติต่าง ๆ ที่จะได้กล่าวถึงต่อไปนี้ ถือได้ว่าเป็นมาตรฐานการ
รักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลอย่างหนึ่งตามที่กฎหมายก าหนดไว้
๑.๖ หลักการที่แตกต่างจากการใช้วิธีพิจารณาความแพ่งทั่วไป
๑) การย่นหรือขยายระยะเวลา
ในการด าเนินกระบวนพิจารณาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อศาลเห็นสมควรหรือ
เมื่อคู่ความร้องขอ ศาลมีอ านาจย่นหรือขยายระยะเวลาได้ตามความจ าเป็นและเพื่อประโยชน์
๕ ประกาศส านักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ข้อ ๑๔ “การนั่งพิจารณาที่คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องในคดีอยู่นอกศาลโดยวิธีการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ด าเนินการทางระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือแอปพลิเคชันที่ส านักงานศาลยุติธรรมก าหนดที่สามารถสื่อสาร
ภาพและเสียงได้อย่างชัดเจนและต่อเนื่อง โดยถือว่าบุคคลนั้นได้มาด าเนินกระบวนพิจารณาที่ศาล”
๖ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๖ “ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูล
เกี่ยวกับบุคคลซึ่งท าให้สามารถระบุตัวบุคคลนั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรมโดยเฉพาะ”
๗ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๔ วรรคสอง และพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๔
๘ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๔ วรรคสอง และพระราชกฤษฎีกาก าหนด
หน่วยงานและกิจการที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓ มาตรา ๓