Page 359 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 359
มาตรการทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติในการติดตามตัวผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลย
มาด าเนินคดีในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง
Measures and procedures for tracing the accused or accused
to be prosecuted in the Supreme Court's Criminal Division
for Persons Holding Political Positions
ผณุกร วิสุทธิธรรม*
ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจ ากองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา
Panukorn Visuddhidham
Judge in the Research Division of the Supreme Cout
บทคัดย่อ
ื่
แผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกาก่อตั้งขึ้นเพอแก้ไขปัญหาการทุจริต
ของนักการเมืองและการประพฤติมิชอบในวงราชการ แต่เมื่อมีการฟองคดีนักการเมืองและข้าราชการ
้
เป็นผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยต่อศาลแล้ว ปรากฏว่ามีหลายคดีที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยยื่นค าร้องขอปล่อยตัว
ชั่วคราวและศาลอนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวแล้ว กลับหลบหนีไปและไม่สามารถติดตามจับกุมตัว
มาด าเนินคดีได้ ท าให้การพิจารณาและบังคับตามค าพพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่ง
ิ
ทางการเมืองขาดประสิทธิภาพ ส่งผลให้รัฐไม่สามารถแก้ไขปัญหาการทุจริตที่ก าลังลุกลามและบั่นทอน
การพัฒนาประเทศในปัจจุบันได้
จากการศึกษา พบปัจจัยส าคัญที่กระทบต่อการติดตามจับกุมของเจ้าพนักงานผู้มีอานาจจับกุม
1
โดยเฉพาะเจ้าพนักงานต ารวจ ได้แก่ การขาดประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ด้านการสืบสวนจับกุม
ขาดความรู้ความเข้าใจมาตรการทางกฎหมายหรือวิธีปฏิบัติในการติดตามจับกุม ขาดความรู้ความสามารถ
ิ
ด้านการต่างประเทศ ขาดความเป็นอสระ ขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงาน
ี
ต้นสังกัด และขาดความร่วมมือจากประชาชน ยังพบอกว่า มีมาตรการและวิธีปฏิบัติที่จะน ามาใช้ในการ
ติดตามจับกุมผู้หลบหนีซึ่งบัญญัติไว้ในกฎหมายหลายฉบับ ได้แก่ ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา
ิ
พระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติเจ้าพนักงานต ารวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. ๒๕๕๑ แต่
ในทางปฏิบัติปรากฏว่ายังไม่มีการน ามาตรการและวิธีปฏิบัติดังกล่าวมาบังคับใช้อย่างจริงจัง เนื่องจาก
เจ้าพนักงานและผู้ที่เกี่ยวข้องยังขาดความรู้ความเข้าใจในมาตรการทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติดังกล่าว
*น.บ. (มหาวิทยาลัยรามค าแหง), น.บ.ท.