Page 362 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 362

349


                                                                             ิ
               บทบัญญัติในพระราชบัญญัติดังกล่าวใช้บังคับ ให้น าประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญาและประมวล
               กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม


                                                                 ื่
                           กระบวนการยุติธรรมทางอาญามีวัตถุประสงค์เพอป้องกันปราบปรามอาชญากรรมที่มีผลกระทบ
               ต่อความสงบสุขของสังคมส่วนรวม เพอคุ้มครองผู้เสียหาย และเพื่อเป็นหลักประกันหรือคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
                                              ื่
               ของผู้ถูกกล่าวหา ซึ่งได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่ายังไม่มีความผิดหรือยังเป็นผู้บริสุทธิ์ โดยรัฐธรรมนูญ

               ฉบับถาวรซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของไทยเกือบทุกฉบับที่ผ่านมาต่างให้ความส าคัญเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้ถูก
               กล่าวหาหรือจ าเลยในกระบวนการยุติธรรมว่าบุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่จะได้กระท าการอันกฎหมาย

               ที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระท านั้นบัญญัติเป็นความผิดและก าหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่า
               โทษที่ก าหนดไว้ในกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระท าความผิดมิได้ และในคดีอาญาต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่า

               ผู้ต้องหาหรือจ าเลยไม่มีความผิด ก่อนมีค าพพากษาอนถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระท าความผิดจะปฏิบัติ
                                                    ิ
                                                            ั
               ต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยมิได้ เมื่อสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลยไม่มีความผิด
               สิทธิในการขอปล่อยชั่วคราวจึงเป็นสิทธิขั้นพนฐานของผู้ต้องหาหรือจ าเลยในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
                                                    ื้
               ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจึงมีสิทธิยื่นค าร้องขอปล่อยชั่วคราวได้ การปล่อยชั่วคราวเป็นการอนุญาตให้ผู้ต้องหาหรือ
                                                                                  ื่
               จ าเลยพนจากการถูกควบคุมของเจ้าพนักงานหรือศาลตามระยะเวลาที่ก าหนดเพอไม่ให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลย
                      ้
               ถูกควบคุมหรือขังเป็นเวลานานเกินกว่าจ าเป็นในระหว่างการสอบสวนหรือพจารณาคดี หากไม่จ าเป็น
                                                                                  ิ
               ต้องควบคุมหรือขังผู้ต้องหาหรือจ าเลยไว้ก็ควรที่จะให้ปล่อยชั่วคราวไป

                          การอนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง แม้

                            ิ
               เป็นการใช้ดุลพนิจเพอคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยในคดีอาญา แต่เมื่อผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลย
                                 ื่
                                                              ั
               ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวแล้ว กลับหลบหนีและไม่มาฟงค าพพากษาของศาล ในจ านวนผู้หลบหนีดังกล่าว
                                                                   ิ
               นอกจากจะเป็นนักการเมืองระดับท้องถิ่นและข้าราชการระดับสูงแล้ว ยังมีนักการเมืองระดับชาติที่หลบหนี
               ออกจากประเทศไทยรวมอยู่ด้วย ได้แก่ นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
                                           ั
               อดีตนายกรัฐมนตรี นายวัฒนา อศวเหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายประชา มาลีนนท์
               อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งการที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยหลบหนีดังกล่าวจะส่งผลให้การ

                            ิ
               บังคับตามค าพพากษาของศาลขาดประสิทธิภาพ และท าให้รัฐได้รับความเสียหายอย่างที่มิอาจประเมินมูลค่า
                                                                                   ั
               ได้ ดังนั้น ปัญหาการหลบหนีของผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยจึงนับเป็นเรื่องส าคัญอนควรศึกษาหาสาเหตุของ
               ปัญหาดังกล่าว และหาหนทางแก้โดยมุ่งเน้นถึงตัวบุคคลที่เป็นปัญหา รวมถึงควรศึกษาหามาตรการทาง
               กฎหมายและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ที่จะน ามาปรับใช้เพอให้ได้ตัวผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยนั้นมาด าเนินคดีและ
                                                          ื่
                              ิ
               มาบังคับตามค าพพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
               โดยแท้จริง


                                                                                          ิ
                           เนื่องจากปัจจุบันมีคดีที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยหลบหนีไปในระหว่างการพจารณาและไม่มา
                                                                                    ิ่
                      ิ
                 ั
               ฟงค าพพากษาศาลของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองเพมจ านวนมากขึ้น แม้ตาม
   357   358   359   360   361   362   363   364   365   366   367