Page 365 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 365

352


                           มาตรา ๑๑๗ บัญญัติว่า “ เมื่อผู้ต้องหาหรือจ าเลยหนีหรือจะหลบหนี ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือ

               ต ารวจที่พบการกระท าดังกล่าวมีอานาจจับผู้ต้องหาหรือจ าเลยนั้นได้ แต่ในกรณีที่บุคคลซึ่งท าสัญญาประกัน
               หรือเป็นหลักประกันเป็นผู้พบเห็นการกระท าดังกล่าว อาจขอให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจที่ใกล้ที่สุด


               จับผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้ ถ้าไม่สามารถขอความช่วยเหลือจากเจ้าพนักงานได้ทันท่วงที ก็ให้มีอานาจจับ
               ผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้เอง แล้วส่งไปยังพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจที่ใกล้ที่สุด และให้เจ้าพนักงานนั้นรีบ

               จัดส่งผู้ต้องหาหรือจ าเลยไปยังเจ้าพนักงานหรือศาล โดยคิดค่าพาหนะจากบุคคลซึ่งท าสัญญาประกันหรือเป็น
               หลักประกันนั้น

                                                                                                ั
                           มาตรา ๑๐๘/๑ บัญญัติว่า “การสั่งไม่ให้ปล่อยชั่วคราวจะกระท าได้ต่อเมื่อมีเหตุอนควรเชื่อ
               เหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้
                        (๑) ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะหลบหนี

                           (๒) ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน
                           (๓) ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น

                           (๔) ผู้ร้องขอประกันหรือหลักประกันไม่น่าเชื่อถือ

                           (๕) การปล่อยชั่วคราวจะเป็น อปสรรคหรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อการสอบสวนของ
                                                     ุ
               เจ้าพนักงาน หรือการด าเนินคดีในศาล...”

                            พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑

                            มาตรา ๓๙ บัญญัติว่า “ในระหว่างการไต่สวน หรือเมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลว่าผู้ใดกระท า
               ความผิด และความผิดนั้นมีโทษทางอาญา หากมีเหตุอันควรเชื่อว่าผู้ถูกกล่าวหาจะหลบหนี ให้คณะกรรมการ



               ป.ป.ช. หรือผู้ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมายมีอานาจด าเนินการขอให้ศาลที่มีเขตอานาจออกหมายจับ
               และ ควบคุมตัวผู้ถูกกล่าวหาไว้
                             ในการจับและควบคุมตัวบุคคลตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะมอบหมายพนักงาน

               เจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจ หรือพนักงานสอบสวนด าเนินการแทนก็ได้ และให้พนักงาน
               เจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจ หรือพนักงานสอบสวนด าเนินการตามที่ได้รับมอบหมายโดยเร็ว

               ทั้งนี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายดังกล่าว เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจตามประมวล

               กฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา
                            เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ในการจับ คุมขัง และ

               การปล่อยชั่วคราว ให้น าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในส่วนที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับโดยอนุโลม
                            ในกรณีที่มีการกระท าความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ เกิดขึ้นในลักษณะความผิดซึ่งหน้า ให้กรรมการ

               พนักงานไต่สวนที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย และพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจชั้นผู้ใหญ่ มีอ านาจ

               จับกุมตัวผู้กระท าความผิดได้โดยไม่ต้องมีหมายของศาล และเมื่อจับได้แล้วให้ส่งมอบให้พนักงาน สอบสวน
               ควบคุมตัวไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
   360   361   362   363   364   365   366   367   368   369   370